เพราะเจ็บไม่ได้แปลว่าแพ้ เข้าใจการจัดการกับความเจ็บปวดทางร่างกาย เมื่อเวลาสุดท้ายของชีวิตใกล้มาถึง
Departure Guide ประกอบงานเสวนาวิชาชีวิต บทสุดท้าย Last Life Lesson หลายคนอาจเคยคิดว่า การแสดงความเจ็บปวดทางร่างกายหมายถึงความพ่ายแพ้ อ่อนแอ ไม่อดกลั้น การที่เราสกัดกั้นความเจ็บปวดไว้จะยิ่งทำให้ทรุดหนักและรักษาได้ยากกว่าเดิม เพราะฉะนั้น จึงควรสังเกตตัวเองอย่างถี่ถ้วน ไม่โกหกตัวเองหรือคนใกล้ชิดว่าสบายดีแล้วคิดว่าอาการจะหายเอง เพื่อที่แพทย์และญาติจะได้หาวิธีการจัดการกับความเจ็บปวด (Pain Management) ได้อย่างทันท่วงที
คนที่แพ้ก็ต้องดูแลตัวเอง
4 โรคภูมิแพ้ที่คนไทยเป็นมากที่สุด คือ แพ้ผิวหนัง แพ้ยา แพ้อาหาร และแพ้อากาศ สิ่งที่คนเป็นภูมิแพ้ควรรู้เพื่อดูแลตนเอง คือ หลีกเลี่ยงสิ่งที่ตัวเองแพ้ หันมาใช้สิ่งของหรือสินค้าออร์แกนิก ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ กินอาหารที่ดีมีประโยชน์ งดเครียด และอย่านอนดึก
แพ้อาหารไม่ใช่เรื่องเล็ก
การแพ้อาหารเป็นโรคประเภทหนึ่ง ผู้ป่วยสร้างภูมิคุ้มกันที่ผิดปกติต่ออาหารประเภทนั้น เช่น อาหารทะเล นม ถั่ว ฯลฯ อาการที่พบอาจมีตั้งแต่เป็นลมพิษ ปวดท้อง หายใจลำบาก เกิดภาวะช็อก หมดสติ บางครั้งรุนแรงอาจถึงแก่ชีวิตได้ ดังนั้นควรมีการดูแลป้องกัน ด้วยการรู้ตัวเราว่าแพ้อาหารอะไร และหลีกเลี่ยงการทานอาหารนั้น ฝึกอ่านฉลากทุกครั้งที่จะทานอาหารต่าง ๆ ให้เป็นนิสัย และควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับยาแก้แพ้ติดตัวเสมอ
หนังสือเสียง แพ้ชนะไม่สำคัญ
นิทานสะท้อนความมีน้ำใจนักกีฬาของนักวิ่งคนเก่งจาก 3 โรงเรียน 3 สหาย "ปุยฝ้าย" จากโรงเรียนแสนสุข "ปูเป้" จากโรงเรียนหรรษา และ "ปักเป้า" จากโรงเรียนสุขสันต์ ระหว่างที่ปุยฝ้ายกำลังวิ่งนำ ก็เกิดเหตุไม่คาดคิดเมื่อปูเป้ที่วิ่งตามมาเป็นอันดับสองเกิดหกล้มจนขาพลิก ปุยฝ้ายเลยหยุดช่วยพยุงปูเป้ ทำให้ปักเป้าได้เหรียญทองไป สุดท้ายเด็ก ๆ ทุกคนได้เรียนรู้ว่า แพ้ชนะไม่สำคัญ สิ่งสำคัญคือความดีและมีน้ำใจ