ไหว้ตายแล่วววว โดย คณะนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
คนสมัยนี้คิดยังไงกับการไหว้ ต่อวันเราได้ไหว้คนอื่นบ้างไหม แล้วทำไมเราถึงต้องไหว้
The Power of Lala โดย คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
สร้างความเข้าใจต่อปัญหาความรุนแรงต่อสตรี และชี้ให้เห็นช่องทางเข้าถึงความช่วยเหลือเมื่อประสบเหตุ
D Read - Campaign clip Kiddeecine โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
D+Read : การอ่านอย่างมีวิจารณญาณในการเสพสื่อ มาจากการอ่านที่ดี คิดบวก และยังพ้อง เสียงกับคำว่า Delete เพื่อลดการใช้สื่ออย่างขาดวิจารณญาณวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : อยากให้คนรุ่นใหม่ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน และมีวิจารณญาณในการรับสื่อ ซึ่งจะ เป็นตัวอย่างที่ดีให้คนรุ่นถัดไปในสังคม
D Read - Campaign clip Optimicine โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
D+Read : การอ่านอย่างมีวิจารณญาณในการเสพสื่อ มาจากการอ่านที่ดี คิดบวก และยังพ้อง เสียงกับคำว่า Delete เพื่อลดการใช้สื่ออย่างขาดวิจารณญาณวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : อยากให้คนรุ่นใหม่ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน และมีวิจารณญาณในการรับสื่อ ซึ่งจะ เป็นตัวอย่างที่ดีให้คนรุ่นถัดไปในสังคม
D Read - Campaign clip Consciousdicine โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
D+Read : การอ่านอย่างมีวิจารณญาณในการเสพสื่อ มาจากการอ่านที่ดี คิดบวก และยังพ้อง เสียงกับคำว่า Delete เพื่อลดการใช้สื่ออย่างขาดวิจารณญาณวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : อยากให้คนรุ่นใหม่ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน และมีวิจารณญาณในการรับสื่อ ซึ่งจะ เป็นตัวอย่างที่ดีให้คนรุ่นถัดไปในสังคม
D Read - Campaign clip Readicine โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
D+Read : การอ่านอย่างมีวิจารณญาณในการเสพสื่อ มาจากการอ่านที่ดี คิดบวก และยังพ้อง เสียงกับคำว่า Delete เพื่อลดการใช้สื่ออย่างขาดวิจารณญาณวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : อยากให้คนรุ่นใหม่ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน และมีวิจารณญาณในการรับสื่อ ซึ่งจะ เป็นตัวอย่างที่ดีให้คนรุ่นถัดไปในสังคม
D Read โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
D+Read : การอ่านอย่างมีวิจารณญาณในการเสพสื่อ มาจากการอ่านที่ดี คิดบวก และยังพ้อง เสียงกับคำว่า Delete เพื่อลดการใช้สื่ออย่างขาดวิจารณญาณวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : อยากให้คนรุ่นใหม่ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน และมีวิจารณญาณในการรับสื่อ ซึ่งจะ เป็นตัวอย่างที่ดีให้คนรุ่นถัดไปในสังคม
สร้างสรรค์เฟร่อ Viral video โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
Creative by doing คือ ความคิดที่สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆที่ยังมี หรือคนอื่นคาดไม่ถึงเพื่อพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาในสังคม โดยการลงมือทำเพื่อให้เกิดผลสูงสุด เพราะถ้ามีแค่แนวคิดอย่างเดียวไม่ทำ มันจะไม่เกิดผลอะไร วัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : เพื่อดึงดูด หรือกระตุ้นให้วัยรุ่นตระหนัก และสนใจความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ และลงมือทำ เพื่อที่จะพัฒนาความสามารถนี้ต่อไป เพื่อที่จะเอาไปสร้างสรรค์ พัฒนา และแก้ไขปัญหาในสังคมในอนาคตต่อไป
สร้างสรรค์เฟร่อ โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
Creative by doing คือ ความคิดที่สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆที่ยังมี หรือคนอื่นคาดไม่ถึงเพื่อพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาในสังคม โดยการลงมือทำเพื่อให้เกิดผลสูงสุด เพราะถ้ามีแค่แนวคิดอย่างเดียวไม่ทำ มันจะไม่เกิดผลอะไร วัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : เพื่อดึงดูด หรือกระตุ้นให้วัยรุ่นตระหนัก และสนใจความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ และลงมือทำ เพื่อที่จะพัฒนาความสามารถนี้ต่อไป เพื่อที่จะเอาไปสร้างสรรค์ พัฒนา และแก้ไขปัญหาในสังคมในอนาคตต่อไป
หนังสือ My Right ความฝัน ขาฉัน ไดอารี่ คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ไดอารี่เล่มนี้ เขียนขึ้นโดยนักศึกษาภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ และภาคนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ต้องการสะท้อนมุมมอง ความรู้สึกนึกคิดของคนพิการกับการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเท่าเทียม เข้าถึงสิทธิ กฎหมาย สวัสดิการ และสิ่งต่างๆ ที่ผู้พิการพึงจะได้รับ แม้เรื่องราวจะเป็นตัวละครสมมติ แต่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เป็นสิ่งที่พบเห็นได้จริงในสังคม ไดอารี่เล่มนี้ จึงเป็นเสียงสะท้อนที่บอกไปยังคนในสังคมได้ตื่นตัวในการเปิดพื้นที่และสิทธิเพื่อดูแลผู้พิการให้ได้รับความเท่าเทียมทางสังคม
My Right ความฝัน ขาฉัน ไดอารี่ คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ผลงานโบรชัวร์ infographic นำเสนอความรู้สึกของคนพิการที่หลังได้รับอุบัติเหตุ ผ่านไดอารี่ เพื่อบอกเล่าความรู้สึกให้คนทั่วไปได้รับรู้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจคนพิการ