trực tiếp bóng đá Xoilac
ศูนย์ข้อมูลสื่อสร้างสรรค์
Filter
ประเภทสื่อ
คำค้นหา "สุขภาวะ" พบ 204 ข้อมูล

จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.2 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย

ศิลปวัฒนธรรมแขนงต่างๆ เป็นพื้นที่สากลที่สะท้อนจิตวิญญาณอันดีงามของมนุษยชาติได้เป็นอย่างดี ขอเชิญร่วมศึกษาและไขรหัสศิลปวัฒนธรรมที่สะท้อนการตื่นรู้และยกระดับทางจิตวิญญาณของมนุษย์   ตอนต่อไป จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.3 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - ล้อมวงคุยกัน   จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 1  จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.1 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.2 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.3 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ล้อมวงคุยกัน   จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 2 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.1 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.2 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.3 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - ล้อมวงคุยกัน   จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 3 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.1 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.2 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.3 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - ล้อมวงคุยกัน   จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 4 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.1 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.2 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.3 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - ล้อมวงคุยกัน   จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 5 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.1 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.2 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.3 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - ล้อมวงคุยกัน

จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.2 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย

ท่ามกลางความแตกต่างหลากหลายของมนุษยชาติ เรากลับมีเนื้อแท้บางอย่างเหมือนกัน ชวนมาใคร่ครวญถึงที่ว่างตรงกลางซึ่งดำรงอยู่ระหว่างสรรพสิ่งและสืบค้นความหมายของสัญลักษณ์ร่วมที่ปรากฎในวัฒนธรรมต่างๆด้วยกัน   ตอนต่อไป จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.3 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - ล้อมวงคุยกัน     จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 1  จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.1 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.2 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.3 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ล้อมวงคุยกัน   จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 2 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.1 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.2 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.3 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - ล้อมวงคุยกัน   จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 3 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.1 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.2 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.3 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - ล้อมวงคุยกัน   จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 4 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.1 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.2 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.3 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - ล้อมวงคุยกัน   จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 5 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.1 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.2 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.3 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - ล้อมวงคุยกัน

จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.2 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย

เดินทางย้อนเวลาสู่ห้วงอดีตเพื่อสำรวจจุดเริ่มต้นของอารยธรรมมนุษย์ที่ซึ่งความรักของมนุษย์ยุคบรรพกาลกำเนิดขึ้น ผ่านการศึกษาด้านมานุษยวิทยา โบราณคดี และศิลปะยุคก่อนประวัติศาสตร์ ชวนคิดและตั้งคำถามว่าอารยธรรมมนุษย์เกิดขึ้นเมื่อใดกันแน่   ตอนต่อไป จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.3 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ล้อมวงคุยกัน    จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 1  จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.1 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.2 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.3 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ล้อมวงคุยกัน   จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 2 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.1 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.2 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.3 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - ล้อมวงคุยกัน   จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 3 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.1 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.2 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.3 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - ล้อมวงคุยกัน   จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 4 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.1 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.2 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.3 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - ล้อมวงคุยกัน   จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 5 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.1 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.2 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.3 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - ล้อมวงคุยกัน

ลงทะเบียนเรียนฟรี การรู้เท่าทันสื่อเพื่อพลเมืองดิจิทัล

“การรู้เท่าทันสื่อเพื่อพลเมืองดิจิทัล” เนื้อหาหลักสูตรออนไลน์ระยะสั้น  ที่จะพัฒนาความสามารถให้รู้เท่าทันความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในการสื่อสาร    เรียนรู้พื้นฐานของความเข้าใจในคุณค่าความแตกต่างหลากหลายทางอัตลักษณ์  ใช้และสร้างสรรค์สื่ออย่างตระหนักถึงสิทธิของบุคคลอย่างรู้เท่าทันการสื่อสารสร้างความเกลียดชัง   จุฬาฯ และ สสส. ขอเชิญชวนผู้สนใจเข้าเรียนรู้พัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อ ทักษะสุขภาวะ ในหลักสูตรออนไลน์ระยะสั้น  CUVIP series เท่าทันสื่อ ก้าวทันโลก   หมวดเนื้อหา การรู้เท่าทันสื่อเพื่อพลเมืองดิจิทัล   เลือกเรียนได้ตามความสนใจใน 3 หัวข้อ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย 28 มิถุนายน  2565 หัวข้อ การใช้สื่อดิจิทัลกับการจัดการอารมณ์ 11 กรกฎาคม 2565 หัวข้อ การนำเสนออัตลักษณ์ผ่านสื่อดิจิทัล 18 กรกฎาคม 2565 หัวข้อ การเคารพสิทธิบนโลกออนไลน์ ทุกหัวข้อใช้เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ช่วง 16:30-18:30 น.  ด้วยรูปแบบการเรียนออน์ไลน์ผ่าน Zoom Appication รับเกียรติบัตรหลังผ่านการประเมินการเรียนรู้แต่ละหัวข้อ   ออกแบบหลักสูตรและวิทยากรสอน โดย กลุ่ม Critizen คุณณัฏฐเมธร์ ดุลคนิต, คุณปราศรัย เจตสันติ์, คุณอลงกรณ์ อัศวโสวรรณ และ คุณพรพรรษ อัมพรพฤติ   รับจำนวนจำกัด !!!  สมัครเข้าร่วม CUVIP และลงทะเบียนเรียนเลยตอนนี้ เพียง 4 ขั้นตอน ลงทะเบียนเป็นผู้ใช้งานใหม่ ที่  http://www.cuvip.gened.chula.ac.th/Member-Public.php ติดตามประกาศตารางวันเวลาเรียน และวันลงทะเบียนเข้าร่วมในหัวข้อที่สนใจ ที่ Facebook : CUVIP Project ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม CUVIP ที่ เว็บไซต์  http://www.cuvip.gened.chula.ac.th/Timetable.php ก่อนวันเรียน 2-3 วัน สามารถตรวจสอบรายชื่อผู้ได้เข้าร่วมกิจกรรม CUVIP ที่ Facebook : CUVIP Project หรือ โทรศัพท์ 0 2218 3920   ทำความรู้จักภาพรวมหลักสูตร CUVIP series เท่าทันสื่อ ก้าวทันโลก ได้ที่  https://online.fliphtml5.com/mqfzw/vpuj/

ลงทะเบียนเรียนฟรี สูงวัยเท่าทันสื่อ

“สูงวัยเท่าทันสื่อ” เนื้อหาหลักสูตรออนไลน์ระยะสั้น  ที่จะพัฒนาทักษะของผู้สูงวัยให้เอาตัวรอดในยุคดิจิทัล โดยมีความรู้เรื่องรู้เท่าทันสื่อ ประเมินสื่อเบื้องต้นได้ด้วยตัวเอง ผ่านกระบวนการ หยุด-คิด-ถาม-ทำ  และฝึกฝนการใช้สื่อออนไลน์ในการค้นคว้าหาข้อมูลความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองได้ เป็นการสร้างทักษะและวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน    จุฬาฯ และ สสส. ขอเชิญชวนผู้สนใจเข้าเรียนรู้พัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อ ทักษะสุขภาวะ ในหลักสูตรออนไลน์ระยะสั้น  CUVIP series เท่าทันสื่อ ก้าวทันโลก   ในหัวข้อ “สูงวัยเท่าทันสื่อ” วันที่ 22 มิถุนายน  2565 ใช้เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ช่วง 16:30-18:30 น.  ด้วยรูปแบบการเรียนออน์ไลน์ผ่าน Zoom Appication ลงทะเบียนเรียนฟรี โดยไม่มีค่าใช้จ่าย รับเกียรติบัตรหลังผ่านการประเมินการเรียนรู้   ออกแบบหลักสูตรและวิทยากรสอน โดย กลุ่มคนตัวดี  บริษัท ทำมาปัน จำกัด(เพื่อสังคม) ดร.สิรินทร พิบูลภานุวัธน์, คุณเอกชัย เธียรสรรชัย และคุณฐานิสร์ ริ้วสุวรรณ์   รับจำนวนจำกัด !!!  สมัครเข้าร่วม CUVIP และลงทะเบียนเรียนเลยตอนนี้ เพียง 4 ขั้นตอน ลงทะเบียนเป็นผู้ใช้งานใหม่ ที่  http://www.cuvip.gened.chula.ac.th/Member-Public.php ติดตามประกาศตารางวันเวลาเรียน และวันลงทะเบียนเข้าร่วมในหัวข้อที่สนใจ ที่ Facebook : CUVIP Project ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม CUVIP ที่ เว็บไซต์  http://www.cuvip.gened.chula.ac.th/Timetable.php ก่อนวันเรียน 2-3 วัน สามารถตรวจสอบรายชื่อผู้ได้เข้าร่วมกิจกรรม CUVIP ที่ Facebook : CUVIP Project หรือ โทรศัพท์ 0 2218 3920   ทำความรู้จักภาพรวมหลักสูตร CUVIP series เท่าทันสื่อ ก้าวทันโลก ได้ที่  https://online.fliphtml5.com/mqfzw/vpuj/

ลงทะเบียนเรียนฟรี การคุ้มครองจากภัยออนไลน์

“การคุ้มครองจากภัยออนไลน์” เนื้อหาหลักสูตรออนไลน์ระยะสั้น  เรียนรู้วิธีป้องกันตนเองจากไซเบอร์บูลลี่และรู้จักวิธีการดูแลช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น  รู้เท่าทันกลโกงออนไลน์ วิธีการรับมือและปกป้องสิทธิเมื่อสั่งซื้อของแล้วได้รับของไม่ครบ ไม่ตรงปก รู้จักวิธีป้องกันตนเองและรับมือกับการละเมิด การคุกคาม และการแสวงหาประโยชน์ทางเพศ   จุฬาฯ และ สสส. ขอเชิญชวนผู้สนใจเข้าเรียนรู้พัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อ ทักษะสุขภาวะ ในหลักสูตรออนไลน์ระยะสั้น  CUVIP series เท่าทันสื่อ ก้าวทันโลก   หมวดเนื้อหา “การคุ้มครองจากภัยออนไลน์”   เลือกเรียนได้ตามความสนใจใน 3 หัวข้อ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย 29 มิถุนายน  2565 หัวข้อ รับมือการคุกคามทางเพศออนไลน์ 12 กรกฎาคม 2565 หัวข้อ ทำอย่างไรเมื่อซื้อของออนไลน์ ไม่ตรงปก 20 กรกฎาคม 2565 หัวข้อ เอาตัวรอดเมื่อถูกกลั่นแกล้งระรานทางไซเบอร์ (Cyberbullying)  ทุกหัวข้อใช้เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ช่วง 16:30-18:30 น.  ด้วยรูปแบบการเรียนออน์ไลน์ผ่าน Zoom Appication รับเกียรติบัตรหลังผ่านการประเมินการเรียนรู้แต่ละหัวข้อ   ออกแบบหลักสูตรและวิทยากรสอน โดย มูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย ดร.ศรีดา ตันทะอธิพานิช,  คุณณัชวลัย สุวรรณฑัต และ คุณสุพิชฌาย์ ชัยธัมมะปกรณ์   รับจำนวนจำกัด !!!  สมัครเข้าร่วม CUVIP และลงทะเบียนเรียนเลยตอนนี้ เพียง 4 ขั้นตอน ลงทะเบียนเป็นผู้ใช้งานใหม่ ที่  http://www.cuvip.gened.chula.ac.th/Member-Public.php ติดตามประกาศตารางวันเวลาเรียน และวันลงทะเบียนเข้าร่วมในหัวข้อที่สนใจ ที่ Facebook : CUVIP Project ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม CUVIP ที่ เว็บไซต์  http://www.cuvip.gened.chula.ac.th/Timetable.php ก่อนวันเรียน 2-3 วัน สามารถตรวจสอบรายชื่อผู้ได้เข้าร่วมกิจกรรม CUVIP ที่ Facebook : CUVIP Project หรือ โทรศัพท์ 0 2218 3920   ทำความรู้จักภาพรวมหลักสูตร CUVIP series เท่าทันสื่อ ก้าวทันโลก ได้ที่  https://online.fliphtml5.com/mqfzw/vpuj/

ลงทะเบียนเรียนฟรี การรับมือกับข้อมูลข่าวสาร

ลงทะเบียนเรียนฟรี!!! “การรับมือกับข้อมูลข่าวสาร” เนื้อหาหลักสูตรออนไลน์ระยะสั้น  ที่พาผู้เรียนทำความเข้าใจแนวคิดเรื่องข้อมูลข่าวสารที่ทำให้เข้าใจผิด บิดเบือน ฝึกฝนการตรวจสอบข้อเท็จจริง (FACT-CHECKING) ในข่าวลวง ข่าวปลอม และข้อมูลเท็จ ติดตั้งแนวคิดเรื่องความเป็นพลเมืองดิจิทัลรับมือโรคระบาดข้อมูลข่าวสาร และสร้างทักษะประสบการณ์ในการหาความจริงร่วม   จุฬาฯ และ สสส. ขอเชิญชวนผู้สนใจเข้าเรียนรู้พัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อ ทักษะสุขภาวะ ในหลักสูตรออนไลน์ระยะสั้น  CUVIP series เท่าทันสื่อ ก้าวทันโลก   หมวดเนื้อหา “การรับมือกับข้อมูลข่าวสาร”   เลือกเรียนได้ตามความสนใจใน 3 หัวข้อ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย 20 มิถุนายน 2565 หัวข้อ พื้นฐานการตรวจสอบข้อเท็จจริง (Fact-Checking 101) 7 กรกฎาคม 2565 หัวข้อ เครื่องมือและเคล็ดลับ สำหรับนักตรวจสอบข้อเท็จจริง ออกแบบหลักสูตรและวิทยากรสอน โดย คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์  ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย อสมท   8 กรกฎาคม 2565 หัวข้อ พลเมืองดิจิทัลกับการรับมือข้อมูลข่าวสาร(นวัตกรรมโคแฟค) ออกแบบหลักสูตรและวิทยากรสอน โดย คุณสุภิญญา กลางณรงค์  ผู้ร่วมก่อตั้งโคแฟค (ประเทศไทย)   ทุกหัวข้อใช้เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ช่วง 16:30-18:30 น.  ด้วยรูปแบบการเรียนออน์ไลน์ผ่าน Zoom Appication รับเกียรติบัตรหลังผ่านการประเมินการเรียนรู้แต่ละหัวข้อ   รับจำนวนจำกัด !!!  สมัครเข้าร่วม CUVIP และลงทะเบียนเรียนเลยตอนนี้ เพียง 4 ขั้นตอน ลงทะเบียนเป็นผู้ใช้งานใหม่ ที่  http://www.cuvip.gened.chula.ac.th/Member-Public.php ติดตามประกาศตารางวันเวลาเรียน และวันลงทะเบียนเข้าร่วมในหัวข้อที่สนใจ ที่ Facebook : CUVIP Project ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม CUVIP ที่ เว็บไซต์  http://www.cuvip.gened.chula.ac.th/Timetable.php ก่อนวันเรียน 2-3 วัน สามารถตรวจสอบรายชื่อผู้ได้เข้าร่วมกิจกรรม CUVIP ที่ Facebook : CUVIP Project หรือ โทรศัพท์ 0 2218 3920   ทำความรู้จักภาพรวมหลักสูตร CUVIP series เท่าทันสื่อ ก้าวทันโลก ได้ที่  https://online.fliphtml5.com/mqfzw/vpuj/

ลงทะเบียนเรียนฟรี การรู้เท่าทันสื่อเพื่อสร้างสังคมของทุกคน

ลงทะเบียนเรียนฟรี   “การรู้เท่าทันสื่อเพื่อสร้างสังคมของทุกคน” เนื้อหาหลักสูตรออนไลน์ระยะสั้น  ที่จะพาไปเรียนรู้ทำความเข้าใจเกี่ยวสื่อในฐานะสถาบันทางสังคมที่ขัดเกลาความคิดผู้คน ฝึกฝนวิเคราะห์ถอดรื้อการประกอบสร้างสื่อ เพิ่มศักยภาพความคิดเชิงวิพากษ์  และขยายหัวใจของความเป็นพลเมืองอยู่ร่วมนับรวมผู้คนสังคมเดียวกัน   จุฬาฯ และ สสส. ขอเชิญชวนผู้สนใจเข้าเรียนรู้พัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อ ทักษะสุขภาวะ ในหลักสูตรออนไลน์ระยะสั้น  CUVIP series เท่าทันสื่อ ก้าวทันโลก   หมวดเนื้อหา การรู้เท่าทันสื่อเพื่อสร้างสังคมของทุกคน   เลือกเรียนได้ตามความสนใจใน 3 หัวข้อ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย 21 มิถุนายน  2565  หัวข้อ เปิดสายตาอ่านสื่ออย่างรู้เท่าทัน MIDL 101 19 กรกฎาคม 2565  หัวข้อ พลิกมุมคิด สะกิดมุมมอง วิพากษ์สื่อด้วยสายตาพลเมือง 21 กรกฎาคม 2565  หัวข้อ วิพากษ์สื่ออย่างรู้เท่าทันสร้างสรรค์สังคมของทุกคน ทุกหัวข้อใช้เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ช่วง 16:30-18:30 น.  ด้วยรูปแบบการเรียนออน์ไลน์ผ่าน Zoom Appication รับเกียรติบัตรหลังผ่านการประเมินการเรียนรู้แต่ละหัวข้อ   ออกแบบหลักสูตรและวิทยากรสอน โดย  คุณโตมร อภิวันทนากร และ คุณทัศนวรรณ บรรจง  มูลนิธิการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองไทย Thai Civic Education Foundation   รับจำนวนจำกัด !!!  สมัครเข้าร่วม CUVIP และลงทะเบียนเรียนเลยตอนนี้ เพียง 4 ขั้นตอน ลงทะเบียนเป็นผู้ใช้งานใหม่ ที่  http://www.cuvip.gened.chula.ac.th/Member-Public.php ติดตามประกาศตารางวันเวลาเรียน และวันลงทะเบียนเข้าร่วมในหัวข้อที่สนใจ ที่ Facebook: CUVIP Project ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม CUVIP ที่ เว็บไซต์  http://www.cuvip.gened.chula.ac.th/Timetable.php ก่อนวันเรียน 2-3 วัน สามารถตรวจสอบรายชื่อผู้ได้เข้าร่วมกิจกรรม CUVIP ที่ Facebook : CUVIP Project หรือ โทรศัพท์ 0 2218 3920   ทำความรู้จักภาพรวมหลักสูตร CUVIP series เท่าทันสื่อ ก้าวทันโลก ได้ที่  https://online.fliphtml5.com/mqfzw/vpuj/

ลงทะเบียนเรียนฟรี หลักสูตรออนไลน์ระยะสั้น การรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทอล (MIDL)

ลงทะเบียนเรียนฟรี!!! แนะนำ! คอร์สเรียนออนไลน์ ที่ชาวโซเชียลควรรู้   หลักสูตรเสริมการศึกษาทั่วไประยะสั้น เพื่อพัฒนาความรู้ ความคิด ทักษะ และทัศนคติ ด้วยชุดกิจกรรมการรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล (Media, Information and Digital literacy หรือ MIDL) เกิดขึ้นภายใต้ความร่วมมือของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย กิจกรรมเสริมหลักสูตรการศึกษาทั่วไประยะสั้น Chulalongkorn University Values Integration Program หรือ CUVIP มีวัตถุประสงค์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รู้จัก ค้นพบ และพัฒนาตัวเองเพื่อเตรียมพร้อมสู่โลกการ ทำงานอย่างมือ อาชีพ เมื่อสิ้นสุดการเข้าร่วมกิจกรรมแล้ว ผู้เรียนจะได้รับองค์ความรู้ใหม่หรือต่อยอดองค์ความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว และสร้างแรงบันดาลใจใน การดำเนินชีวิตต่อไปในอนาคต จนสามารถร่วมเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาและยกระดับคุณสมบัตินิสิต บัณฑิต และบุคลากรให้สามารถเป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของประเทศและโลก . หลักสูตร CUVIP series "เท่าทันสื่อ ก้าวทันโลก” Media Literacy, the essential skill for well-being เปิดพื้นที่เรียนรู้ออนไลน์ด้วยเนื้อหาที่ได้รับออกแบบการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อ ซึ่งเป็นทักษะสร้างสุขภาวะที่สำคัญในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 5 หมวดเนื้อหา 13 หัวข้อเรียนรู้ 2 ชั่วโมงต่อครั้ง . หมวดเนื้อหาที่ 1 การรู้เท่าทันสื่อเพื่อสร้างสังคมของทุกคน โดย คุณโตมร อภิวันทนากร และ คุณทัศนวรรณ บรรจง มูลนิธิการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองไทย หมวดเนื้อหาที่ 2 การรู้เท่าทันสื่อเพื่อพลเมืองดิจิทัล โดย คุณณัฏฐเมธร์ ดุลคนิต , คุณปราศรัย เจตสันติ์, คุณอลงกรณ์ อัศวโสวรรณ และ คุณพรพรรษ อัมพรพฤติ กลุ่ม Critizen หมวดเนื้อหาที่ 3 สูงวัยเท่าทันสื่อ โดย เอกชัย เธียรสรรชัย, ดร.สิรินทร พิบูลภานุวัธน์ และ ฐานิสร์ ริ้วสุวรรณ์ (กลุ่มคนตัวดี บริษัท ทำมาปัน จำกัด) หมวดเนื้อหาที่ 4 การคุ้มครองจากภัยออนไลน์ โดย ดร.ศรีดา ตันทะอธิพานิช , คุณสุพิชฌาย์ ชัยธัมมะปกรณ์ และ คุณณัชวลัย สุวรรณฑัต มูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย หมวดเนื้อหาที่ 5 การรับมือกับข้อมูลข่าวสาร โดย คุณสุภิญญา กลางณรงค์ ผู้ร่วมก่อตั้งโคแฟค (ประเทศไทย) และ คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ อสมท. . การสมัครและเข้าร่วมกิจกรรม CUVIP สำหรับบุคคลทั่วไป 1. ลงทะเบียนเป็นผู้ใช้งานใหม่ ที่ http://www.cuvip.gened.chula.ac.th/Member-Public.php 2. ติดตามประกาศตารางวันเวลาเรียน และวันลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม CUVIP ที่ Facbook: CUVIP Project 3. ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม CUVIP ที่ เว็บไซต์ http://www.cuvip.gened.chula.ac.th/Timetable.php 4. ก่อนวันเรียน 2-3 วัน สามารถตรวจสอบรายชื่อผู้ได้เข้าร่วมกิจกรรม*** CUVIP ที่ Facbook: CUVIP Project หรือ โทรศัพท์ 0 2218 3920 หรือ Inbox Facbook: CUVIP Project 5. ผู้เรียน จะได้รับประกาศนียบัตร หลังจบการเรียนรู้แต่กิจกรรม

สุขภาพคนไทย 2565

รายงานสุขภาพคนไทยปี 2565 ในวิกฤตโควิด-19 ที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมสุขภาพกาย สุขภาพจิต การศึกษา ชีวิตการทำงาน เศรษฐกิจ ความเหลื่อมล้ำในสังคมชุมชนและครอบครัวในแง่มุมต่างๆ ที่อาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของคนไทยในระยะสั้นและระยะยาว นอกเหนือจากรายงานผลกระทบที่เกิดขึ้นจากวิกฤตโควิด-19 แล้วก็ยังมีอีก 10 สถานการณ์เด่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตสุขภาพกายของคนไทยที่เป็นทั้งเรื่องใหม่และที่ยังรอการแก้ไข เช่น การปลดล็อกกัญชา กัญชงและพืชกระท่อม การโฆษณาอาหารเสริมเกินจริง โรงงานหมิงตี้ระเบิดบทเรียนภัยพิบัติจากโรงงานสารเคมี ปัญหาน้ำท่วมซ้ำซากและการปรับตัว อนาคตเกษตรไทยกับเกษตรอัจฉริยะ ไทยกับ RECP และ CPTPP ข้อดีและสิ่งที่ต้องระวังและสุดท้ายเรื่องการเมืองบนท้องถนนกับทางออก ซึ่งรายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยให้ดีขึ้นต่อไป

รายงานการวิจัยการทบทวนและการสร้างกรอบมโนทัศน์ของสุขภาวะทางปัญญาในคนวัยทำงาน

ปัจจุบันโลกของเรากำลังเผชิญวิกฤตสถานการณ์โลกปั่นป่วนที่มีความรุนแรงเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งสังคมไทยของเราก็ได้รับผลกระทบไปด้วยเช่นกัน จากสถานการณ์ความปั่นป่วนทางเศรษฐกิจ สงคราม โรคระบาด ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการใช้เทคโนโลยีเข้ามาทดแทนแรงงานมนุษย์ ปัญหาเหล่านี้ได้ส่งผลกระทบทำให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมา โดยเฉพาะปัญหาด้านสุขภาพกายและจิตใจ งานวิจัยการทบทวนและการสร้างกรอบมโนทัศน์ของสุขภาวะทางปัญญาในคนวัยทำงานชุดนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับสุขภาวะทางปัญญา ด้วยการใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกและวิเคราะห์เนื้อหาที่สามารถแบ่งกรอบมโนทัศน์ที่เกี่ยวกับสุขภาวะทางปัญญาของคนวัยทำงานในสังคมไทยได้ 3 ประเด็นหลัก คือ การหยั่งรู้ความเป็นจริงทั้งภายในตนเองและโลกภายนอก การสัมพันธ์เชื่อมโยงกับผู้อื่นและธรรมชาติ อีกทั้งงานวิจัยชุดนี้ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นชุดกิจกรรมเชิงประสบการณ์ เพื่อพัฒนาสุขภาวะทางปัญญาและช่วยเหลือเยียวยาคนวัยทำงานในสังคมให้มีสุขภาวะที่ดีขึ้นได้

รายงานการวิจัยอิทธิพลของสุขภาวะทางปัญญา และจิตวิญญาณในสถานที่ทำงานที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการทำงานและความผาสุกทางจิต

สุขภาวะทางปัญญาและจิตวิญญาณในสถานที่ทำงานล้วนมีอิทธิพลที่สำคัญต่อการทำงาน ตั้งแต่ในระดับปัจเจกบุคคล คนทำงาน ผู้บริหาร ไปจนถึงระดับองค์การและยังส่งผลลัพธ์ไปถึงสังคมไทยโดยรวม การจะทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้สัมฤทธิ์ผลสูงสุดและเกิดความผาสุกร่วมกันในที่สถานที่ทำงาน การมีสุขภาวะทางปัญญาและจิตวิญญาณหรือการตระหนักรู้เท่าทันในตนเองจึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการมีสุขภาวะทางปัญญาและจิตวิญญาณในสถานที่ทำงาน พร้อมทั้งได้นำผลของการศึกษามาวิเคราะห์ให้เกิดเป็นแนวทางการสร้างการตระหนักรู้ในตัวบุคคลให้เกิดทัศนคติที่ดี มีจิตใจที่สมบูรณ์  เพื่อการดำเนินชีวิตให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมและช่วยกันเป็นแรงขับเคลื่อนสังคมไทยไปสู่สังคมที่มีคุณภาพ

keyboard_arrow_up

เว็บไซต์นี้มีการใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้และ นโยบายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่.