Reasons of the Raerons เรื่องนี้มีเหตุผล โดย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โลกของเด็กเร่ร่อน วัยรุ่นที่สังคมมองว่าเป็นเด็กเหลือขอและแหล่งอาชญากรรม มีกำแพงความเข้าใจผิดที่ทำให้ผู้คนไม่อยากจะเข้าใจ ไม่อยากช่วยเหลือ แต่จริงๆ เด็กพวกนี้คิดอะไรกันอยู่ และทำไมพวกเขาจึงใช้ชีวิตแบบนั้น พาผู้ชมไปรู้จักกับโลกของเด็กเร่ร่อนวัยรุ่นว่าเป็นอย่างไร และสังคมควรให้ความช่วยเหลืออะไรกับพวกเขาบ้าง
ลองแชร์ Long Share คลิปวีดีโอ โดย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปัญหาเด็กถูกมองข้ามความฝัน ไม่ได้เรียนในสิ่งที่อยากเรียนนั้นเกิดจากปัจจัยหลายด้าน ทางคณะผู้จัดทำเล็งเห็นว่าปัจจัยด้านครอบครัวมีผลเป็นอย่างมาก หลายครั้งที่ความฝันเหล่านั้นไม่เกิดขึ้นเป็นเพราะครอบครัวขาดการรับฟังซึ่งกันและกัน ไม่เกิดการพูดคุยและปรึกษาหารือจนทำให้ส่งผลเสีย คณะผู้จัดทำจึงได้จัดทำวิดีโอซึ่งมุ่งหมายให้เกิดการกระตุ้นให้เห็นถึงความสำคัญของการพูดคุยกันภายในครอบครัว ให้เห็นถึงด้านดีด้านเสียของการโต้ตอบกันในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้คนตระหนักรับฟังซึ่งกันและกัน
ลองแชร์ Long Share โดย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) มหาวิทยาลัยศิลปากร
เนื่องจากการที่ในปัจจุบันยังมีเด็กที่ยังถูกพ่อแม่ตีกรอบชีวิตเอาไว้ว่า โตขึ้นจะต้องเป็นอะไร และระหว่างทางก็บังคับว่าจะต้องเรียนอย่างเดียวนะ ต้องทำแบบนี้เท่านั้นนะ ถึงจะโตมามีชีวิตที่ดีได้ โดยไม่เปิดโอกาสให้ลูกได้ลองคิด และเดินตามความฝันของตัวเอง
D Read - Campaign clip Kiddeecine โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
D+Read : การอ่านอย่างมีวิจารณญาณในการเสพสื่อ มาจากการอ่านที่ดี คิดบวก และยังพ้อง เสียงกับคำว่า Delete เพื่อลดการใช้สื่ออย่างขาดวิจารณญาณวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : อยากให้คนรุ่นใหม่ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน และมีวิจารณญาณในการรับสื่อ ซึ่งจะ เป็นตัวอย่างที่ดีให้คนรุ่นถัดไปในสังคม
D Read - Campaign clip Optimicine โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
D+Read : การอ่านอย่างมีวิจารณญาณในการเสพสื่อ มาจากการอ่านที่ดี คิดบวก และยังพ้อง เสียงกับคำว่า Delete เพื่อลดการใช้สื่ออย่างขาดวิจารณญาณวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : อยากให้คนรุ่นใหม่ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน และมีวิจารณญาณในการรับสื่อ ซึ่งจะ เป็นตัวอย่างที่ดีให้คนรุ่นถัดไปในสังคม
D Read - Campaign clip Consciousdicine โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
D+Read : การอ่านอย่างมีวิจารณญาณในการเสพสื่อ มาจากการอ่านที่ดี คิดบวก และยังพ้อง เสียงกับคำว่า Delete เพื่อลดการใช้สื่ออย่างขาดวิจารณญาณวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : อยากให้คนรุ่นใหม่ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน และมีวิจารณญาณในการรับสื่อ ซึ่งจะ เป็นตัวอย่างที่ดีให้คนรุ่นถัดไปในสังคม
D Read - Campaign clip Readicine โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
D+Read : การอ่านอย่างมีวิจารณญาณในการเสพสื่อ มาจากการอ่านที่ดี คิดบวก และยังพ้อง เสียงกับคำว่า Delete เพื่อลดการใช้สื่ออย่างขาดวิจารณญาณวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : อยากให้คนรุ่นใหม่ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน และมีวิจารณญาณในการรับสื่อ ซึ่งจะ เป็นตัวอย่างที่ดีให้คนรุ่นถัดไปในสังคม
D Read โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
D+Read : การอ่านอย่างมีวิจารณญาณในการเสพสื่อ มาจากการอ่านที่ดี คิดบวก และยังพ้อง เสียงกับคำว่า Delete เพื่อลดการใช้สื่ออย่างขาดวิจารณญาณวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : อยากให้คนรุ่นใหม่ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน และมีวิจารณญาณในการรับสื่อ ซึ่งจะ เป็นตัวอย่างที่ดีให้คนรุ่นถัดไปในสังคม
มาชิด แทนแชท เพิ่มความชิดใกล้ ให้คนใกล้ชิด โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง-นฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
" How to be a plastic doll " มีชีวิตแค่โลกในจอ ไร้ชีวิตในโลกความจริง สื่อถึงความไร้ชีวิต ไร้ปฏิสัมพันธ์ทางกายภาพ เหมือนกับหุ่นพลาสติกนิ่งๆที่มีรูปร่างเหมือนคน แต่ไม่สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์ได้ เป็นหุ่นนิ่งที่มีชีวิตแค่กับคนในมือถือ วัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : เพื่อสื่อสารสื่อให้ผู้คนได้ฉุกคิดและหันมาสร้างปฏิสัมพันธ์กับคนรอบๆข้างให้มากขึ้นกว่าเดิม เหตุผลเพราะว่า ถ้าหากในอนาคตการมีปฏิสัมพันธ์ของคนเราลดลง อาจจะมีปัญหาต่างๆในสังคมตามมา เช่น การขาดการมีน้ำใจ ขาดการช่วยเหลือกัน
Young Share โดย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
"จดหมายลูกโซ่ ” Support : จดหมายลูกโซ่มีลักษณะการส่งต่อข้อมูลกันเป็นทอดๆ โดยผู้ที่ได้รับข้อมูลเหล่านั้นจะต้องมีวิจารณญาณในการตัดสินใจว่าข้อมูลที่ได้รับมีข้อเท็จจริงอย่างไร เช่นเดียวกับปัจจุบันที่มีการแชร์ข้อมูลใน Social network มากมายโดยมีแนวโน้มการแชร์ข้อมูลเท็จมากขึ้น เราจึงอยากให้คนรุ่นใหม่มีวิจารณญาณในการหาข้อมูลที่ถูกต้องก่อนที่จะแชร์ข้อมูลเหล่านั้นออกไป
Young Share โดย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
"จดหมายลูกโซ่" Support : จดหมายลูกโซ่มีลักษณะการส่งต่อข้อมูลกันเป็นทอดๆ โดยผู้ที่ได้รับข้อมูลเหล่านั้นจะต้องมีวิจารณญาณในการตัดสินใจว่าข้อมูลที่ได้รับมีข้อเท็จจริงอย่างไร เช่นเดียวกับปัจจุบันที่มีการแชร์ข้อมูลใน Social network มากมายโดยมีแนวโน้มการแชร์ข้อมูลเท็จมากขึ้น เราจึงอยากให้คนรุ่นใหม่มีวิจารณญาณในการหาข้อมูลที่ถูกต้องก่อนที่จะแชร์ข้อมูลเหล่านั้นออกไป
สร้างสรรค์เฟร่อ โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
Creative by doing คือ ความคิดที่สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆที่ยังมี หรือคนอื่นคาดไม่ถึงเพื่อพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาในสังคม โดยการลงมือทำเพื่อให้เกิดผลสูงสุด เพราะถ้ามีแค่แนวคิดอย่างเดียวไม่ทำ มันจะไม่เกิดผลอะไร วัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : เพื่อดึงดูด หรือกระตุ้นให้วัยรุ่นตระหนัก และสนใจความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ และลงมือทำ เพื่อที่จะพัฒนาความสามารถนี้ต่อไป เพื่อที่จะเอาไปสร้างสรรค์ พัฒนา และแก้ไขปัญหาในสังคมในอนาคตต่อไป