จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.3 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ล้อมวงคุยกัน
เดินทางย้อนเวลาสู่ห้วงอดีตเพื่อสำรวจจุดเริ่มต้นของอารยธรรมมนุษย์ที่ซึ่งความรักของมนุษย์ยุคบรรพกาลกำเนิดขึ้น ผ่านการศึกษาด้านมานุษยวิทยา โบราณคดี และศิลปะยุคก่อนประวัติศาสตร์ ชวนคิดและตั้งคำถามว่าอารยธรรมมนุษย์เกิดขึ้นเมื่อใดกันแน่ ตอนต่อไป จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 2 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.1 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 1 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.1 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.2 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.3 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ล้อมวงคุยกัน จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 2 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.1 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.2 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.3 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - ล้อมวงคุยกัน จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 3 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.1 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.2 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.3 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - ล้อมวงคุยกัน จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 4 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.1 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.2 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.3 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - ล้อมวงคุยกัน จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 5 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.1 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.2 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.3 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - ล้อมวงคุยกัน
จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.1 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ตัวอย่าง
เดินทางย้อนเวลาสู่ห้วงอดีตเพื่อสำรวจจุดเริ่มต้นของอารยธรรมมนุษย์ที่ซึ่งความรักของมนุษย์ยุคบรรพกาลกำเนิดขึ้น ผ่านการศึกษาด้านมานุษยวิทยา โบราณคดี และศิลปะยุคก่อนประวัติศาสตร์ ชวนคิดและตั้งคำถามว่าอารยธรรมมนุษย์เกิดขึ้นเมื่อใดกันแน่ ตอนต่อไป จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.2 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 1 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.1 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.2 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.3 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ล้อมวงคุยกัน จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 2 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.1 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.2 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.3 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - ล้อมวงคุยกัน จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 3 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.1 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.2 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.3 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - ล้อมวงคุยกัน จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 4 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.1 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.2 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.3 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - ล้อมวงคุยกัน จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 5 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.1 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.2 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.3 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - ล้อมวงคุยกัน
จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.2 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย
เดินทางย้อนเวลาสู่ห้วงอดีตเพื่อสำรวจจุดเริ่มต้นของอารยธรรมมนุษย์ที่ซึ่งความรักของมนุษย์ยุคบรรพกาลกำเนิดขึ้น ผ่านการศึกษาด้านมานุษยวิทยา โบราณคดี และศิลปะยุคก่อนประวัติศาสตร์ ชวนคิดและตั้งคำถามว่าอารยธรรมมนุษย์เกิดขึ้นเมื่อใดกันแน่ ตอนต่อไป จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.3 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ล้อมวงคุยกัน จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 1 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.1 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.2 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 1.3 ร่องรอยความรักในยุคบรรพกาล - ล้อมวงคุยกัน จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 2 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.1 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.2 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 2.3 สัญลักษณ์แห่งความเป็นหนึ่งเดียว - ล้อมวงคุยกัน จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 3 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.1 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.2 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 3.3 ไขรหัสจิตวิญญาณมนุษย์ในงานสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม - ล้อมวงคุยกัน จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 4 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.1 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.2 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 4.3 มหกรรมแห่งมวลมนุษยชาติ - ล้อมวงคุยกัน จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอนที่ 5 จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.1 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - ตัวอย่าง จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.2 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - สุภาพ ดีรัตนา บรรยาย จิตวิญญาณแห่งรักและสันติภาพ ตอน 5.3 พลังสันติภาพกลางไฟสงคราม - ล้อมวงคุยกัน
อรุโณทัยแห่งการตื่นรู้ สู่การขยายมวลความสุข
รู้หรือไม่ว่าในวันวันหนึ่งเราใช้สมองส่วนไหนในการดำรงชีวิตมากที่สุด สมองส่วนหน้าส่วนที่ใช้สติปัญญาไตร่ตรอง ส่วนกลางส่วนของความรู้สึก หรือว่าส่วนหลังที่เป็นส่วนที่ดึกดำบรรพ์ที่สุดเพียงเพื่อเอาชีวิตรอดไปวันๆ อรุโณทัยแห่งการตื่นรู้สู่การเคลื่อนขยายมวลความสุข โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทย์ประเวศ วะสี เป็นหนังสือที่พูดถึงการสร้างสุขภาวะทางปัญญา เพื่อการตื่นรู้ในระดับจุลภาคไปสู่ระดับมหภาค ด้วยการใช้สมองส่วนหน้าที่เป็นส่วนของมนุษย์ขั้นสูงในการเข้าถึงความเป็นจริง เพื่อให้เรารู้เท่าทันตนเองและเข้าใจความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในโลก รวมถึงการสร้างสังคมแห่งการตื่นรู้หรือสังคมยุคสมองส่วนหน้า ซึ่งเราทุกคนล้วนเป็นฟันเฟืองตัวหนึ่งหรือหนึ่งในมวลสารแห่งความสุขที่จะช่วยขับเคลื่อนสังคมไปสู่สังคมแห่งอารยะ
มุมมองแนวคิดเรื่อง บุญ กับ จิตอาสา โดย พระไพศาล วิสาโล
เมื่อเรานึกถึงการทำบุญเรามักจะนึกถึงแต่การให้ทานโดยเฉพาะการเข้าวัดทำบุญกับพระสงฆ์ ทว่าการทำบุญนั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับการสละทรัพย์เท่านั้น แต่การสละเวลาและแรงกายในการช่วยเหลือผู้อื่นหรือสัตว์ที่เจ็บป่วยก็นับเป็นการทำบุญตามหลักพระพุทธศาสนาเช่นกัน คลิปเสียง มุมมองแนวคิดเรื่อง บุญ กับ จิตอาสา โดย พระอาจารย์ ไพศาล วิสาโล ซึ่งพระอาจารย์ไพศาลได้ให้มุมมองเกี่ยวกับการทำบุญไว้ว่า เพียงแค่เรามีจิตที่อาสาเราก็สามารถทำบุญหรือช่วยเหลือผู้อื่นได้ การทำบุญที่ถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนานั้นคือการทำบุญที่ให้ทั้งประโยชน์ตนและประโยชน์ท่านและนำมาซึ่งความปิติที่ได้บรรเทาทุกข์ให้แก่ผู้อื่น รวมทั้งเกิดปัญญาแก่ผู้ให้เพราะผู้ให้จะรู้สึกว่ามีอัตตาตัวตนที่น้อยลง
การปฎิบัตตัวของกลุ่มเสี่ยงเพื่อป้องกันโควิด
อินโฟกราฟิกแนะนำการปฏิบัติตัวของผู้ที่มีโรคประจำตัวที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด19 เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง โรคระบบทางเดินหายใจ รวมไปถึงผู้สูงอายุ ซึ่งควรหลีกเลี่ยงสถานที่ที่มีคนแออัด สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาหากต้องออกนอกบ้านและหมั่นล้างมือ หมั่นตรวจเช็คสุขภาพตนเองและทำความสะอาดเครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ใช้เป็นประจำร่วมกันในบ้าน เช่น เครื่องวัดความดันโลหิตด้วยแอลกอฮอล์
The Reading อ่านสร้างสุข โดย ครูชีวัน วิสาสะ
จนถึงตอนนี้ สถานการณ์วิกฤตโควิด19 ยังไม่มีทีท่าว่าจะทุเลาลงเพราะไวรัสมีการกลายพันธุ์ออกเป็นหลายสายพันธุ์ ทำให้สถานการณ์ของโรคระบาดโควิด19 มีความรุนแรงมากขึ้นและทำให้การรักษาโรคยากขึ้นไปอีก การจะสื่อสารและอธิบายกับเด็กให้พวกเขาเข้าใจถึงความน่ากลัวของโรคระบาดและเห็นถึงความสำคัญของการตั้งการ์ดป้องกันตัวเองจากโรคร้าย ด้วยคำพูดจากผู้ใหญ่เพียงอย่างเดียวดูจะไม่เพียงพอ The Reading อ่านสร้างสุข คลิปวิดีโอ การใช้นิทานภาพเรื่องอีเล้งเค้งโค้ง อยู่บ้านต้านโควิด ที่เป็นตัวกลางในการสื่อสารโน้มน้าวและอธิบายให้แก่เด็กๆ เข้าใจถึงความน่ากลัวของโรคโควิด19 โดยนิทานภาพจะทำให้พวกเขาเห็นภาพและเกิดความเข้าใจถึงสถานการณ์มากขึ้น พร้อมทั้งเห็นความสำคัญของการป้องกันและดูแลตัวเองในช่วงวิกฤตโรคระบาดโควิด19 ได้อย่างสร้างสรรค์
ส่งต่อรักแบบแม่ EP.03 คุณแม่แก้ว (สุดารัตน์ คูกิมิยะ)
“อยากขอบคุณในสิ่งที่เขาได้แสดงออกในความเป็นตัวของตัวเอง สิ่งที่เขาเก็บเกี่ยวมาจากแม่จากครูบาอาจารย์ คนรอบข้าง จากผู้ให้โอกาส หรือจากสถานที่ เป็นประสบการณ์หล่อหลอมตัวเขาให้เกิดมาเป็น ณเดชย์ คูกิมยะ ณ วันนี้อยากขอบคุณลูก ลูกทำดีที่สุดแล้ว แม่ภูมิใจมาก ๆ แม่รักลูกมากนะครับ รวมถึงปะป๊าด้วย รักลูกที่สุดในจักรวาลเหมือนเดิม ไม่เปลี่ยนแปลง ตราบเท่าลมหายใจของแม่” ติดตามการเพียรปลูกฝังเรื่องความดีงามให้แก่ลูกของ "แม่แก้ว สุดารัตน์ คูกิมิยะ" (คุณแม่ของณเดชน์ คูกิมิยะ) ได้ใน ส่งต่อรักแบบแม่ EP.03
ส่งต่อรักแบบแม่ EP.02 คุณแม่แก้ว (สุดารัตน์ คูกิมิยะ)
“แม่คุยกับเขาว่า เราต้องอยู่ให้เป็น ไม่ว่าเราจะอยู่กับใครหรือที่ไหน เราไม่ต้องไปเสาะแสวงหาว่าเขาเป็นใคร มาจากไหน เราแค่อยู่ให้เป็นกับสิ่งที่เราได้โอกาส สิ่งที่เราได้เจอ สังเกตเป็นเหตุให้เกิดผล สงสัยเป็นเหตุให้เกิดปัญหาไม่จบสิ้น” ติดตามการเพียรปลูกฝังเรื่องความดีงามให้แก่ลูกของ "แม่แก้ว สุดารัตน์ คูกิมิยะ" (คุณแม่ของณเดชน์ คูกิมิยะ) ได้ใน ส่งต่อรักแบบแม่ EP.02
ส่งต่อรักแบบแม่ EP.01 คุณแม่แก้ว (สุดารัตน์ คูกิมิยะ)
“สิ่งที่เขาอยากแสดงออก อยากจะมีกิจกรรมในส่วนที่เป็นความคิดของเขา แม่จะให้อิสระทันที แต่ในส่วนที่อยู่ในกรอบ ทุกคนในครอบครัวก็ต้องมีข้อห้าม มีกฎเหล็กในการปฏิบัติเพื่อที่จะอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข” ติดตามการเพียรปลูกฝังเรื่องความดีงามให้แก่ลูกของ "แม่แก้ว สุดารัตน์ คูกิมิยะ" (คุณแม่ของณเดชน์ คูกิมิยะ) ได้ใน ส่งต่อรักแบบแม่ EP.01
ส่งต่อรักแบบแม่ EP.03 คุณแม่ตู่ (นันทิดา แก้วบัวสาย)
"ชีวิตความเป็นนันทิดาที่ทุกคนรู้จักมาเป็นนักร้องเนี่ย พี่รู้สึกว่า พี่โชคดีนะที่พี่ได้เป็นทั้งลูก แล้วก็โชคดีที่มีใครคนหนึ่งเรียกเราว่าแม่ โชคดีสำหรับความเป็นนันทิดาตรงนี้" ติดตามมุมมองความเป็นแม่ของ "แม่ตู่ นันทิดา แก้วบัวสาย" ที่ถ่ายทอดความรักอันไพเราะผ่านประสบการณ์ต่าง ๆ ใน ส่งต่อรักแบบแม่ EP.03 คุณแม่ตู่ (นันทิดา แก้วบัวสาย)