หิวมานิห์ โดย คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
จากวัฒนธรรม ประเพณีของผู้คนในสามจังหวัดชายแดนใต้ในอดีตที่นิยมทำขนมพื้นบ้านของตัวเอง และ รับประทานขนมกันในชีวิตประจำวัน โดยเลือกใช้วัตถุดิบที่มีในชุมชนท้องถิ่น เป็นกลายเป็นขนมพื้นบ้านหลากหลายชนิดและมีรสชาติ หน้าตาที่เป็นเอกลักษณ์ และเป็นการสะท้อนความเป็นอยู่ วิถีชีวิต ของคนในชุมชนได้ดี
หยุดตรวจ คลิปวีดีโอ นายู ซีแยโดย คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
คลิปวิดีโอ สะท้อนแนวคิด สร้างความรัก และเความเข้าใจในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
หยุดตรวจ คลิปวีดีโอ ป้ายรถ โดย คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
เพื่อสร้างความเข้าใจในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
หยุดตรวจ คลิปวีดีโอ พวกแบ่งแยกดินแดน โดย คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
เพื่อสร้างความเข้าใจในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
หยุดตรวจ โดย คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
เพื่อสร้างความเข้าใจในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ฆรู โดย คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ในปัจจุบัน เราใช้เทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา แต่การเรียนการสอนที่ดีและมีคุณภาพนั้น คือ การเรียนการสอนด้วย"ครู" ซึ่งเป็นผู้อบรมบ่มเพาะเมล็ดพันธุ์แห่งความหวังในอนาคต ดังนั้น พวกเราจึงใช้คำว่า "ฆรู"ซึ่งมีมาจากการรวมกันของคำว่า ฆูรู ที่แปลว่าครูในภาษามลายู กับคำว่าครู เพื่อสื่อถึงการสะกดคำที่ผิดเพี้ยนที่เป็นผลมาจากการศึกษาไทยที่ผิดพลาด วัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : ต้องการนำเสนอปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในสังคม เพื่อสร้างการรับรู้ เข้าใจ และรู้สึกถึงปัญหา และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างสร้างสรรค์ในอนาคต
ท่าเทียบเรือปากบารา โดย คณะวิทยาศาสตร์ สาขานวัตกรรมการออกแบบและสร้างสรรค์สื่อ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
คลิปอินโฟกราฟิกนำเสนอผลกระทบอีกด้านหนึ่งจากโครงการก่อสร้างท่าเรือน้ำลึกปากบารา ผลกระทบของความเจริญในอีกด้านอาจส่งผลถึงระบบนิเวศ ธรรมชาติ วิถีชีวิต ประเพณีวัฒนธรรม สตูลอาจไม่ใช่พื้นที่สะอาด สงบ ดั่งคำขวัญที่เคยมีมา หากวันนี้ความเจริญทางวัตถุกำลังสวนทางกับวิถีธรรมชาติ เราควรจะเลือกเดินไปทางใด?
มหกรรมพลังอ่านชายแดนใต้
เปิดตัวเครือข่ายพลังอ่านชายแดนใต้ รุกมิติวัฒนธรรมสร้างเสริมสุขภาวะและสันติสุขชายแดนใต้ในงาน ม.อ.วิชาการ 6 – 7 กันยายน 2561 ปัตตานี แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สสส. ร่วมกับ 14 องค์กรภาครัฐ ภาควิชาการ และประชาสังคม จับมือผนึกกำลังจัดตั้งเครือข่ายศูนย์ประสานงานส่งเสริมการอ่านชายแดนใต้ (ศอช.) : เครือข่ายพลังอ่านชายแดนใต้ ร่วมจัดงานมหกรรม “พลังอ่านชายแดนใต้” ณ ตึก 58 สำนักวิทยบริการ อาคารชูเกียรติ (อนุบาลสาธิต ม.อ.ปัตตานี) ในงาน ม.อ.วิชาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ในระหว่างวันที่ 6-7 กันยายน 2561