รายงานการวิจัย โมเดลเชิงสาเหตุของสุขภาวะทางปัญญา ศาสนาและจิตวิญญาณ และดัชนีชี้วัดสุขภาพ โดยมีปัจจัยทางด้านจิตวิทยาด้านความคิด อารมณ์และสังคมเป็นตัวแปรส่งผ่าน
รายงานการศึกษาถึงความเชื่อมโยงของสุขภาวะทางปัญญา ปัจจัยทางจิตวิทยา และการเคลื่อนไหวทางกาย โดยทีมอาจารย์ผู้วิจัยจากคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ JAI Center ซึ่งเป็นการศึกษาวิจัยประเด็นนี้ครั้งแรกของประเทศไทย ที่ยืนยันว่า สุขภาวะทางปัญญาทำให้ผู้คนมีความผาสุกทางจิตใจ และเอื้อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ดี โดยเฉพาะการลดพฤติกรรมเนือยนิ่งและเพิ่มการมีกิจกรรมทางกาย โดยงานวิจัยครั้งนี้ศึกษาในกลุ่มตัวอย่างชาวไทย จำนวน 473 คน อายุเฉลี่ย 34.99 ปี
หนังสือเสียง เรียนรู้คุณค่าแห่งชีวิต ตอน กำแพงทางความคิด ชื่อโรคซึมเศร้า : นันทวัฒน์ ชัยพรแก้ว
อ่านโดย : คุณอินทีวร อุไรรัตน์ หนังสือเสียง "เรียนรู้คุณค่าแห่งชีวิต" หนึ่งในกิจกรรม ภายใต้โครงการ "พื้นที่เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อสุขภาวะทางปัญญา" โดยสถาบันอาศรมศิลป์ สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
สามเหลี่ยมสนุก
นิทานภาพสีสันสดใสที่จะช่วยสร้างสรรค์ความคิดและขยายพื้นที่จินตนาการของเด็กๆ ที่อยู่ในช่วงปฐมวัยให้กว้างไกล ด้วยตัวอักษรและรูปทรงสามเหลี่ยมมหาสนุก นอกจากจะได้รับความเพลิดเพลินจากภาพนิทานที่มีสีสันสดสวยแล้ว ยังเป็นการปลูกฝังทักษะการรักการอ่านและการคิดอย่างลึกซึ้งให้แก่เด็กๆ ในส่วนท้ายเล่มของนิทานก็ยังมีกิจกรรมสนุกๆ ส่งท้าย เพื่อต่อยอดจินตนาการให้แก่เด็กๆ ได้ลองฝึกทักษะการคิดและจินตนาการอย่างสร้างสรรค์
คิด Young โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ความสนุกบนโลกออนไลน์ สร้างความทุกข์ให้ผู้อื่นหรือไม่ ? การสื่อสารและโพสต์ แชร์ เรื่องราว และรูปภาพต่าง ๆ ควรเคารพสิทธิของผู้อื่น มิใช่นำ Social Media มาเป็นเครื่องมือกลั่นแกล้งผู้อื่น
Happy Tree Friends โดย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ชักชวนให้คนรับผิดชอบต่อการแสดงความคิดเห็นของตนเองบนโลกออนไลน์ ไม่ให้เป็นโทษต่อตนเองและผู้อื่น
Happy Tree Friends โดย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ชักชวนให้คนรับผิดชอบต่อการแสดงความคิดเห็นของตนเองบนโลกออนไลน์ ไม่ให้เป็นโทษต่อตนเองและผู้อื่น
เท่ง คิดดีไอดอล นักสื่อสาร - สสส.
เท่ง ตัวละครหนังตะลุงใต้ ชวนกันมาเป็นนักสื่อสารสร้างสรรค์ไอเดียสุขภาวะ "เปลี่ยน"สังคม ด้วยพลังสื่อคนรุ่นใหม่ ภาคใต้ ภายใต้การสนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส.
พลังชาวเน็ตจะยิ่งใหญ่สักแค่ไหน
รับฟังเหตุผลของเขาที่มีความคิดแตกต่างบ้าง ถึงแม้เราไม่เข้าใจทั้งหมด อย่างน้อยๆ การรับฟัง ก็เป็นจุดเริ่มที่ดีของ การยอมรับความแตกต่าง พยายามแสดงความคิดเห็น ด้วยความเคารพหรือเหตุผล อย่าให้อารมณ์นาพาเราหลงประเด็น เปลี่ยนเป็นการโต้เถียงด้วยถ้อยคา หรือการใช้ความรุนแรงต่างๆจากสภาวะในปัจจุบันที่สังคมได้เปลี่ยนไปมาก
ไอดอลคิดดี สื่อดีมีไอเดีย
สรุปเรื่องราวของโครงการไอดอลคิดดี สื่อดีมีไอเดีย กับการสร้างนักสื่อสารสร้างสรรค์สุขภาวะภาคใต้ (Creative Communication for Health) พลังของ 30 ทีมคนรุ่นใหม่ที่ใช้พลังสื่อสร้างสรรค์ถ่ายทอดสิ่งดี ๆ สู่สังคมในมิติต่าง ๆ ภายใต้กรอบแนวคิดสื่อเป็นโรงเรียนของสังคม และการสร้างเมือง 3 ดีวิถีสุข
ดุริยางค์ความคิด รพินทรนาถ ฐากูร ตอนที่ 10
ดุริยางค์ความคิด ชุด 150 ปี เมธีปราชญ์ รพินทรนาถ ฐากูร โดยโครงการสื่อสันติภาพ ร่วมกับภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำเสนอรพินทร์รจนาในรูปแบบสื่อเสียงผสานความงามของตัวอักษรเข้ากับเสียงดนตรีในรูปแบบสื่อเสียง ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตอนที่ 10 "ทุกคนมีสิ่งที่พิเศษบางอย่างที่เรียกว่า ศาสนาของข้าพเจ้า อะไรคือศานาของเขา ศาสนาที่ซ่อนอยู่ในหัวใจของเขา และสร้างเขาอย่างต่อเนื่อง" โดย รพินทรนาถ ฐากูร 1861 – 1941
ดุริยางค์ความคิด รพินทรนาถ ฐากูร ตอนที่ 9
ดุริยางค์ความคิด ชุด 150 ปี เมธีปราชญ์ รพินทรนาถ ฐากูร โดยโครงการสื่อสันติภาพ ร่วมกับภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำเสนอรพินทร์รจนาในรูปแบบสื่อเสียงผสานความงามของตัวอักษรเข้ากับเสียงดนตรีในรูปแบบสื่อเสียง ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตอนที่ 9 "ข้าพเจ้ารู้สึกว่าอินเดียที่แท้จริงเป็นแนวคิด ไม่ใช่เพียงข้อเท็จจริงทางภูมิศาสตร์ แนวคิดของอินเดียขัดแย้งกับสำนึกอันเข้มข้นของการแบ่งแยกประชาชนของตนเองออกจากชาติอื่น ๆ ซึ่งจะนำไปสู่ความขัดแย้งไม่รู้จบสิ้น ดังนั้นคำอธิษฐานเพียงประการเดียวของข้าพเจ้า คือขอให้อินเดียสนับสนุนความร่วมมือกันของประชาชนทั่วโลก จิตวิญญาณของการปฏิเสธการสนับสนุนการรู้สึกแบ่งแยก จิตวิญญาณของการยอมรับความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน" จากแนวคิดเรื่อง สวราช การปกครองตนเอง โดย รพินทรนาถ ฐากูร 1861 - 1941
ดุริยางค์ความคิด รพินทรนาถ ฐากูร ตอนที่ 8
ดุริยางค์ความคิด ชุด 150 ปี เมธีปราชญ์ รพินทรนาถ ฐากูร โดยโครงการสื่อสันติภาพ ร่วมกับภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำเสนอรพินทร์รจนาในรูปแบบสื่อเสียงผสานความงามของตัวอักษรเข้ากับเสียงดนตรีในรูปแบบสื่อเสียง ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตอนที่ 8 "เมื่ออยู่ในชนบทข้าพเจ้าพยายามตลอดเวลาที่จะเรียนรู้ไปในรายละเอียดปลีกย่อยที่สุด งานของข้าพเจ้าทำให้ต้องเดินทางไกลจากหมู่บ้านหนึ่งไปอีกหมู่บ้านหนึ่ง จากศิลัยดาถึงหมู่บ้านปักติษา ผ่านแม่น้ำน้อยใหญ่และข้ามหนองน้ำ ด้วยวิธีนี้ข้าพเจ้าได้เห็นชีวิตในหมู่บ้านทุกด้าน ข้านเจ้ากระตือรือร้นอย่างยิ่งที่จะเข้าใจกิจวัตรประจำวันในหมู่บ้าน ความเป็นมาของชีวิตในหมู่บ้านที่สำคัญและน่าสนใจ ไม่นานนักก็เห็นความทุกข์ยาก โศกเศร้าของพวกเขาชัดเจน แล้วรู้สึกอดร้นทดไม่ได้ที่จะต้องทำอะไรบางอย่างกับเรื่องนี้ สำหรับข้าพเจ้ามันน่าละลายที่จะใช้ชีวิตแบบเจ้าที่ดิน สนใจแต่เรื่องหาเงิน และหมกมุ่นอยู่กับกำไรขาดทุนของตนเอง" โดย รพินทรนาถ ฐากูร 1861 - 1941