สำหรับผู้บกพร่องการมองเห็น
สำหรับบุคคลทั่วไป สมัครเพื่อดาวน์โหลดไฟล์สื่อต่างๆ ภายในเว็บไซต์
ค้นหา
บทสัมภาษณ์วิทยากรและ Influencer ประกอบงานเสวนาวิชาชีวิต บทสุดท้าย Last Life Lesson ในฐานะผู้ก่อตั้งและประธานที่ปรึกษา บริษัท ชีวามิตร วิสาหกิจเพื่อสังคม เธอสนใจศึกษาธรรมะ ชีวิต และความตายมาอย่างยาวนาน มีบทบาทสำคัญในการรณรงค์เรื่องการตายดีสำหรับสังคมไทย เธอเป็นวิทยากรและช่วยรวบรวมองค์ความรู้ทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยระยะท้าย จนเมื่อต้องมาเผชิญหน้ากับภาวะเจ็บป่วยครั้งนี้ด้วยตัวเอง นี่คือบทสนทนาแบบคำต่อคำ ว่าเธอคิดและมองความตายอย่างไร คุณหญิงจำนงศรี หาญเจนลักษณ์ ให้สัมภาษณ์กับ a day BULLETIN
งานเขียนถอดความจากปาฐกถาพิเศษของ ศ.เกียรติคุณ นพ.ประเวศ วะสี จากพิธีเปิดเวทีนำเสนอผลงานนักศึกษา เครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม วันที่ 21 พ.ค. 2558 เนื้อหากล่าวถึงการสร้างสรรค์สังคม คือ การสร้างพลังอํานาจที่ 3 ขึ้นมาในสังคม ที่ต่างจากพลังอํานาจรัฐ พลังอํานาจเงิน ที่สำคัญหากสังคมไทยร่วมมือกันสร้างพลังที่ 3 นี้ขึ้นมาให้เต็มประเทศ ก็จะกลายเป็นกุญแจสำคัญการพัฒนาเด็ก เยาวชน นิสิต นักศึกษาจํานวนมากให้กลายเป็นคนรุ่นใหม่ที่ได้รับการศึกษา เข้าใจประเด็นของประเทศ และใช้เทคโนโลยีไอทีและสื่อสารในทางที่สร้างสรรค์ พร้อมทั้งลุกขึ้นมาเป็นกําลังสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต
'การบริการ' ถือเป็นอีกหนึ่งประเด็นสาคัญ ที่เราจะให้ความสาคัญเป็นอย่างยิ่งในการเลือกใช้สินค้าหรือบริการนั้นๆ
รับฟังเหตุผลของเขาที่มีความคิดแตกต่างบ้าง ถึงแม้เราไม่เข้าใจทั้งหมด อย่างน้อยๆ การรับฟัง ก็เป็นจุดเริ่มที่ดีของ การยอมรับความแตกต่าง พยายามแสดงความคิดเห็น ด้วยความเคารพหรือเหตุผล อย่าให้อารมณ์นาพาเราหลงประเด็น เปลี่ยนเป็นการโต้เถียงด้วยถ้อยคา หรือการใช้ความรุนแรงต่างๆจากสภาวะในปัจจุบันที่สังคมได้เปลี่ยนไปมาก
แม้หมายเหตุหรือดอกจัน (*) จะถูกวางให้อยู่ตรงมุมๆ และตัวเล็กมากๆ แต่เราในฐานะผู้บริโภคก็ไม่ควรมองข้าม และอย่าเพิ่งตัดสินใจซื้อโดยไม่ได้อ่านรายละเอียด
'แค่คุณหยิบมือถือถ่ายคลิปวิดีโอ เก็บเรื่องราวของผู้อื่นเอาไว้ อาจทาให้เกิดผลกระทบกับเขาคนนั้นแบบไม่คาดคิด'
N/A
เสียงฉึกกะฉัก...ฉึกกะฉัก...ของรถไฟดังขึ้นครั้งแรกในชุมชน “ท่าพระ” หนึ่งใน 18 ตำบลของอำเภอเมืองขอนแก่น จากชุมชนเล็กๆ ที่มีผู้คนอาศัยอยู่เพียง 2 – 3 ครอบครัว เริ่มมีจำนวนมากขึ้น ซึ่งไม่ได้มีแค่คนไทยแต่ยังมีคนจีนแผ่นดินใหญ่ที่หอบเสื่อผืนหมอนใบ มาตั้งหลักปักฐานบนแผ่นดินนี้ เกิดเป็นชุมชนที่มีขนาดใหญ่ขึ้น มีตลาดสถานีรถไฟที่พ่อค้าแม่ขายได้นำสินค้ามาจำหน่าย แม้จะเป็น “ตลาดแบกะดิน” หรือตลาดที่ขายของบนพื้น แต่ตลาดแห่งเดียวกันนี้ก็นับว่าเป็นศูนย์กลางทางการค้า เพราะนอกจากชาวท่าพระแล้วยังมีชาวบ้านจากอำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม และใกล้เคียง บ้างเดินเท้า บ้างนั่งเกวียนเพื่อนำ “ของป่า” มาขายให้คนท่าพระและพ่อค้าคนกลางที่จะนำสินค้าเหล่านั้นไปขายในกรุงเทพมหานคร รายได้จากการขายของป่าก็นำมาซื้อข้าวของกลับไปขายต่อให้คนในหมู่บ้านซึ่งอยู่ห่างไกลออกไป วิธีนี้ช่วยให้ชาวโกสุมพิสัยและใกล้เคียงไม่ต้องเดินทางไปไกลถึงในตัวจังหวัดขอนแก่นเพราะมีแม่น้ำชีขวางกั้นการสัญจรค่อนข้างลำบาก สำหรับ “ของป่า” ที่ว่านั้น ชาวท่าพระผู้เป็นบุคคลอาวุโสได้บอกเล่าให้ฟังว่า ของป่าเป็นสินค้าชาวบ้านนิยมขาย ได้แก่ มะขามเปียก ครั่ง นุ่น ปอ ข้าว เศรษฐกิจท่าพระในขณะนั้นจึงคึกคักมาก ทำให้บริเวณใกล้เคียงสถานีรถไฟมีการปลูกสร้างบ้านเรือนมากขึ้น
บ้านไม้หลังเล็กของลุงยู้อยู่ห่างบึงบัวในสวนสาธารณะเพียงแค่ไม่ถึงร้อยเมตร แต่แกแทบไม่เคยย่างกรายเข้าไป.....
นางเลี้ยงหมายิ้ม ใบหน้าแห้งเหี่ยวนั้นดูราวกับกระดาษย่น “ได้ข่าวว่าป้าไม่สบาย เจ้านี้อร่อย ฉันซื้อมาฝาก” ป้าแจ่มรับถุงนั้นมา สัมผัสได้กับความสั่นเทาของคนที่หิ้วมันมา นางส่งให้เสร็จก็หันหลังให้และเดินจากไปโดยไม่มองป้าแจ่ม
เรื่องราวของ "ชายแขนเดียว" และ "เทอร์โบ" สุนัขสุดที่รัก.....ของเขา
เมื่อพื้นที่ที่แสนจะงดงามไปด้วยธรรมชาติ กลับถูกแปรเปลี่ยนเป็นพื้นที่ธุรกิจ
เว็บไซต์นี้มีการใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้และ นโยบายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่.