trực tiếp bóng đá Xoilac
ศูนย์ข้อมูลสื่อสร้างสรรค์
Filter
ประเภทสื่อ
คำค้นหา "แผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญญา" พบ 22 ข้อมูล

หลักสูตรการสร้างสรรค์บทละครโทรทัศน์

บ่อยครั้งที่เราดูละครและเกิดอาการ “อิน” หรือ คล้อยตามพฤติกรรมของตัวละครในเรื่อง เพราะเนื้อหาและบทบาทของตัวละครในบางเรื่องอาจมีความคล้ายคลึงกับโลกแห่งความจริงในสังคม ละครโทรทัศน์ที่เราดูอยู่ทุกคืนจึงมีอิทธิพลโน้มน้าวพฤติกรรมของคนในสังคมได้ง่าย อีกทั้งละครโทรทัศน์เองยังเป็นสื่อที่เข้าถึงกลุ่มคนดูได้ง่ายที่สุด การผลิตละครโทรทัศน์ให้มีคุณภาพที่ดี นอกจากจะให้ความสนุกเพลิดเพลินแล้ว ควรให้ทั้งแง่คิดและสร้างทัศนคติที่ดีต่อคนดูและสังคม หลักสูตรการสร้างสรรค์บทละครโทรทัศน์ เพื่อการสร้างสรรค์ละครโทรทัศน์ในมิติใหม่ ที่สามารถส่งเสริมสังคมให้เกิดปัญญาและชักนำคนดูให้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปสู่สิ่งที่ดีกว่า โดยยังคงไว้ซึ่งความกลมกลืนระหว่างพาณิชย์และศิลปะ เพื่อความสุนทรีย์ในชีวิตของคนในสังคม

ละคร มิติสื่อเชิงสร้างสรรค์ต่อสังคม

น้อยคนนักที่จะปฏิเสธว่าไม่เคยดูละครหลังข่าว ละครโทรทัศน์ ธุรกิจการผลิตวัฒนธรรมของสังคมสมัยใหม่ที่สะท้อนแง่มุมและกระแสชีวิตที่เกิดขึ้นในสังคมในรูปแบบความบันเทิง แต่จะทำอย่างไรให้ละครโทรทัศน์ที่มีอิทธิพลต่อคนในสังคมมีความสร้างสรรค์สามารถนำพาสังคมไปสู่สังคมที่ดีกว่าได้และยังมีความกลมกลืนกันระหว่างพาณิชย์และศิลปะที่สร้างความสุนทรีย์ในชีวิตให้กับคนดูในสังคม บทความ ละครมิติสื่อเชิงสร้างสรรค์ต่อสังคม ที่เป็นการรวมตัวกันระหว่างบุคลากรฝ่ายการละครโทรทัศน์และสำนักส่งเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ สสส. ในเวทีเสวนา การสร้างสื่อละครมิติใหม่ ที่สามารถชักนำสังคมและชักจูงให้คนดูมีปฏิสัมพันธ์อย่างเหมาะสมกับผู้คนรอบข้างและสังคม เพื่อทำให้สังคมไทยเป็นสังคมที่น่าอยู่และมีสุขภาวะที่ดี ครบทั้ง 4 มิติ

ภูมิคุ้มใจ 14 วันฉันทำได้

ภูมิคุ้มใจ 14 วันฉันทำได้ เป็นผลผลิตจากแนวคิดของ 6 ภาคีเครือข่ายสุขภาวะทางปัญญา สนับสนุนโดย สสส. มีจุดประสงค์เพื่อช่วยสนับสนุนให้คนไทยสามารถปรับตัวรับมือกับการระบาดของโรคโควิด-19 ปรับตัวอยู่กับวิถีชีวิตใหม่ได้อย่างมีความสุขทั้งกายและใจ ใช้วิกฤตให้เป็นโอกาสในการทำกิจกรรมช่วยเพิ่มความสุขใน 4 มิติ โดยนำเสนอกิจกรรมที่สามารถเติมความสุขและสติให้กับใจได้ต่อเนื่อง 14 วัน

สุขภาวะคนเมืองเรื่องของทุกคน

วันนี้ความเป็นเมืองกำลังรุกคืบเข้าไปในทุกพื้นที่ พร้อม ๆ กับความสะดวกสบายที่เข้ามาไม่ว่าจะเป็นเรื่องของเทคโนโลยีและการเดินทาง ในอีกด้านวิถีชีวิตเรากำลังถูกทำให้เปลี่ยนแปลงไป เราไม่อาจหยุดยั้งความเป็นเมืองที่รุกเข้ามาหาเราได้ แต่เราจะทำอย่างไรให้อยู่กับเมืองได้อย่างมีความสุข ติดตามใน ‘สุขภาวะคนเมือง เรื่องของทุกคน’ แง่มุมความคิดโดย ดร.นพ.ไพโรจน์ เสาน่วม ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมระบบสื่อและสุขภาวะทางปัญญา สสส. จากงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการพื้นที่สร้างสรรค์สุขภาวะคนเมืองและชนบท

แนะนำแผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญญา (Long Version บทบรรยายไทย)

คลิปวิดีโอแนะนำแผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญญา สสส. (Long Version/ มีบทบรรยาไทย) : สืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของระบบสื่อยุคหลอมรวม สื่อดิจิทัลกลายเป็นสื่อกระแสหลักในสังคมโลก ได้ขยายบทบาทประชาชนจาก ‘ผู้รับสื่อ’ ให้กลายเป็นทั้ง ‘ผู้ใช้และผู้สร้างสื่อ’ ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่ โดยเฉพาะเด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ ยังรับและใช้สื่ออย่างไม่รู้เท่าทัน ส่งผลกระทบต่อสุขภาวะในทุกมิติ เพื่อเป็นการเสริมสร้างปัจจัยที่จะโน้มนำคนไทยให้มีวิถีชีวิตสุขภาวะท่ามกลางบริบทของสังคมในยุคศตวรรษที่ 21 รวมถึงการพัฒนาคนสู่เป้าหมายของชาติ อันเป็นภารกิจของ สสส. แผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญญา สำนักส่งเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จึงได้กำหนดเป้าหมายหลักการทำงานมุ่งให้ ‘คนไทยฉลาดใช้สื่อเป็นเครื่องมือเพื่อนำไปสู่วิถีชีวิตสุขภาวะ’

แนะนำแผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญญา (Short Version บทบรรยายไทย)

คลิปวิดีโอแนะนำแผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญญา สสส. (Short Version / มีบทบรรยายไทย) : สืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของระบบสื่อยุคหลอมรวม สื่อดิจิทัลกลายเป็นสื่อกระแสหลักในสังคมโลก ได้ขยายบทบาทประชาชนจาก ‘ผู้รับสื่อ’ ให้กลายเป็นทั้ง ‘ผู้ใช้และผู้สร้างสื่อ’ ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่ โดยเฉพาะเด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ ยังรับและใช้สื่ออย่างไม่รู้เท่าทัน ส่งผลกระทบต่อสุขภาวะในทุกมิติ เพื่อเป็นการเสริมสร้างปัจจัยที่จะโน้มนำคนไทยให้มีวิถีชีวิตสุขภาวะท่ามกลางบริบทของสังคมในยุคศตวรรษที่ 21 รวมถึงการพัฒนาคนสู่เป้าหมายของชาติ อันเป็นภารกิจของ สสส. แผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญญา สำนักส่งเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จึงได้กำหนดเป้าหมายหลักการทำงานมุ่งให้ ‘คนไทยฉลาดใช้สื่อเป็นเครื่องมือเพื่อนำไปสู่วิถีชีวิตสุขภาวะ’

รายงานสุขภาพคนไทย 2562 : สื่อสังคม สื่อสองคม สุขภาวะคนไทยในโลกโซเชียล

รายงานสุขภาพคนไทย 2562 จัดทำโดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งเรื่องพิเศษประจำฉบับได้แก่ “สื่อสังคม สื่อสองคม” สุขภาวะของคนไทยในโลกโซเชียล ส่วนอื่น ๆ ได้แก่ ส่วน 12 หมวดตัวชี้วัดสุขภาพประชากรเปราะบาง ประกอบด้วย ประชากรข้ามชาติในไทย, ประชากรไทยในต่างแดน, ผู้ต้องขัง พนักงานบริการทางเพศ และผู้ใช้สารเสพติด, กลุ่มเพศวิถีนอกขนบ, คนจนและผู้มีรายได้น้อย, ครอบครัวเปราะบาง, กลุ่มเปราะบางจากปัญหาสุขภาพจิต, เด็กเปราะบาง, วัยรุ่น, และ ผู้สูงอายุ

แนะนำแผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญญา (Long Version)

คลิปวิดีโอแนะนำแผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญญา สสส. (Long Version) : สืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของระบบสื่อยุคหลอมรวม สื่อดิจิทัลกลายเป็นสื่อกระแสหลักในสังคมโลก ได้ขยายบทบาทประชาชนจาก ‘ผู้รับสื่อ’ ให้กลายเป็นทั้ง ‘ผู้ใช้และผู้สร้างสื่อ’ ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่ โดยเฉพาะเด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ ยังรับและใช้สื่ออย่างไม่รู้เท่าทัน ส่งผลกระทบต่อสุขภาวะในทุกมิติ เพื่อเป็นการเสริมสร้างปัจจัยที่จะโน้มนำคนไทยให้มีวิถีชีวิตสุขภาวะท่ามกลางบริบทของสังคมในยุคศตวรรษที่ 21 รวมถึงการพัฒนาคนสู่เป้าหมายของชาติ อันเป็นภารกิจของ สสส. แผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญญา สำนักส่งเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จึงได้กำหนดเป้าหมายหลักการทำงานมุ่งให้ ‘คนไทยฉลาดใช้สื่อเป็นเครื่องมือเพื่อนำไปสู่วิถีชีวิตสุขภาวะ’

แนะนำแผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญญา (Short Version)

คลิปวิดีโอแนะนำแผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญญา สสส. (Short Version) : สืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของระบบสื่อยุคหลอมรวม สื่อดิจิทัลกลายเป็นสื่อกระแสหลักในสังคมโลก ได้ขยายบทบาทประชาชนจาก ‘ผู้รับสื่อ’ ให้กลายเป็นทั้ง ‘ผู้ใช้และผู้สร้างสื่อ’ ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่ โดยเฉพาะเด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ ยังรับและใช้สื่ออย่างไม่รู้เท่าทัน ส่งผลกระทบต่อสุขภาวะในทุกมิติ เพื่อเป็นการเสริมสร้างปัจจัยที่จะโน้มนำคนไทยให้มีวิถีชีวิตสุขภาวะท่ามกลางบริบทของสังคมในยุคศตวรรษที่ 21 รวมถึงการพัฒนาคนสู่เป้าหมายของชาติ อันเป็นภารกิจของ สสส. แผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญญา สำนักส่งเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จึงได้กำหนดเป้าหมายหลักการทำงานมุ่งให้ ‘คนไทยฉลาดใช้สื่อเป็นเครื่องมือเพื่อนำไปสู่วิถีชีวิตสุขภาวะ’  

keyboard_arrow_up

เว็บไซต์นี้มีการใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้และ นโยบายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่.