D Read - Campaign clip Readicine โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
D+Read : การอ่านอย่างมีวิจารณญาณในการเสพสื่อ มาจากการอ่านที่ดี คิดบวก และยังพ้อง เสียงกับคำว่า Delete เพื่อลดการใช้สื่ออย่างขาดวิจารณญาณวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : อยากให้คนรุ่นใหม่ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน และมีวิจารณญาณในการรับสื่อ ซึ่งจะ เป็นตัวอย่างที่ดีให้คนรุ่นถัดไปในสังคม
D Read โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
D+Read : การอ่านอย่างมีวิจารณญาณในการเสพสื่อ มาจากการอ่านที่ดี คิดบวก และยังพ้อง เสียงกับคำว่า Delete เพื่อลดการใช้สื่ออย่างขาดวิจารณญาณวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : อยากให้คนรุ่นใหม่ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน และมีวิจารณญาณในการรับสื่อ ซึ่งจะ เป็นตัวอย่างที่ดีให้คนรุ่นถัดไปในสังคม
มาชิด แทนแชท เพิ่มความชิดใกล้ ให้คนใกล้ชิด คลิปวีดีโอ How to a plastic doll โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง-นฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
" How to be a plastic doll " มีชีวิตแค่โลกในจอ ไร้ชีวิตในโลกความจริง สื่อถึงความไร้ชีวิต ไร้ปฏิสัมพันธ์ทางกายภาพ เหมือนกับหุ่นพลาสติกนิ่งๆที่มีรูปร่างเหมือนคน แต่ไม่สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์ได้ เป็นหุ่นนิ่งที่มีชีวิตแค่กับคนในมือถือ วัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : เพื่อสื่อสารสื่อให้ผู้คนได้ฉุกคิดและหันมาสร้างปฏิสัมพันธ์กับคนรอบๆข้างให้มากขึ้นกว่าเดิม เหตุผลเพราะว่า ถ้าหากในอนาคตการมีปฏิสัมพันธ์ของคนเราลดลง อาจจะมีปัญหาต่างๆในสังคมตามมา เช่น การขาดการมีน้ำใจ ขาดการช่วยเหลือกัน
มาชิด แทนแชท เพิ่มความชิดใกล้ ให้คนใกล้ชิด คลิปวีดีโอ โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง-นฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
" How to be a plastic doll " มีชีวิตแค่โลกในจอ ไร้ชีวิตในโลกความจริง สื่อถึงความไร้ชีวิต ไร้ปฏิสัมพันธ์ทางกายภาพ เหมือนกับหุ่นพลาสติกนิ่งๆที่มีรูปร่างเหมือนคน แต่ไม่สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์ได้ เป็นหุ่นนิ่งที่มีชีวิตแค่กับคนในมือถือ วัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : เพื่อสื่อสารสื่อให้ผู้คนได้ฉุกคิดและหันมาสร้างปฏิสัมพันธ์กับคนรอบๆข้างให้มากขึ้นกว่าเดิม เหตุผลเพราะว่า ถ้าหากในอนาคตการมีปฏิสัมพันธ์ของคนเราลดลง อาจจะมีปัญหาต่างๆในสังคมตามมา เช่น การขาดการมีน้ำใจ ขาดการช่วยเหลือกัน
มาชิด แทนแชท เพิ่มความชิดใกล้ ให้คนใกล้ชิด โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง-นฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
" How to be a plastic doll " มีชีวิตแค่โลกในจอ ไร้ชีวิตในโลกความจริง สื่อถึงความไร้ชีวิต ไร้ปฏิสัมพันธ์ทางกายภาพ เหมือนกับหุ่นพลาสติกนิ่งๆที่มีรูปร่างเหมือนคน แต่ไม่สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์ได้ เป็นหุ่นนิ่งที่มีชีวิตแค่กับคนในมือถือ วัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : เพื่อสื่อสารสื่อให้ผู้คนได้ฉุกคิดและหันมาสร้างปฏิสัมพันธ์กับคนรอบๆข้างให้มากขึ้นกว่าเดิม เหตุผลเพราะว่า ถ้าหากในอนาคตการมีปฏิสัมพันธ์ของคนเราลดลง อาจจะมีปัญหาต่างๆในสังคมตามมา เช่น การขาดการมีน้ำใจ ขาดการช่วยเหลือกัน
น้ำเหลือในเมืองใหญ่ โดย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
เปรียบเทียบทรัพยากรน้ำในสังคมปัจจุบันว่า เกิดภัยแล้ง แต่คนในสังคมเมืองปัจจุบันยังคงใช้น้ำแบบฟุ่มเฟือยอยู่ เราจึงให้อาสาสมัครแต่งตัวเป็นคนที่ขาดแคลนน้ำ แล้วให้อาสาสมัครไปใช้ชีวิตประจำวันที่ต้องใช้น้ำเป็นปัจจัย 4 ในสถานที่ที่เราใช้น้ำอย่างฟุ่มเฟือยเพื่อแสดงให้เห็นว่า น้ำที่เราใช้อย่างฟุ่มเฟือยนี้มันมีประโยชน์กับคนที่ไม่มีน้ำใช้ เหมือนกับน้ำในขวดที่ทุกคนกินเหลือแล้วก็ทิ้ง เมื่อเทียบกับคนที่ไม่มีน้ำจะกิน มันมีค่ามากเกินกว่าที่เราจะทิ้ง
ขุนน่าน โดย คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ป่าขุนน่านเป็นต้นน้ำสายหลักที่ส่งไปแม่น้ำเจ้าพระยาถึง 45% จึงสร้างอัตลักษณ์ของป่าขุนน่านขึ้นมา เพื่อสื่อให้คนเมืองตระหนักถึงความสำคัญของป่าต้นน้ำ และร่วมกันอนุรักษ์ฟื้นฟูต่อไป
ทำไม ต้องแม่วงก์ โดย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การสร้างเขื่อนแม่วงก์ เมื่อสร้างเสร็จแล้วจะส่งผลกระทบต่อป่าตะวันตก และสัตว์ป่าบริเวณนั้นอย่างร้ายแรง เลยได้เป็น Concept ที่ว่า The dam killer.
Young Share โดย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
"จดหมายลูกโซ่ ” Support : จดหมายลูกโซ่มีลักษณะการส่งต่อข้อมูลกันเป็นทอดๆ โดยผู้ที่ได้รับข้อมูลเหล่านั้นจะต้องมีวิจารณญาณในการตัดสินใจว่าข้อมูลที่ได้รับมีข้อเท็จจริงอย่างไร เช่นเดียวกับปัจจุบันที่มีการแชร์ข้อมูลใน Social network มากมายโดยมีแนวโน้มการแชร์ข้อมูลเท็จมากขึ้น เราจึงอยากให้คนรุ่นใหม่มีวิจารณญาณในการหาข้อมูลที่ถูกต้องก่อนที่จะแชร์ข้อมูลเหล่านั้นออกไป
Young Share โดย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
"จดหมายลูกโซ่" Support : จดหมายลูกโซ่มีลักษณะการส่งต่อข้อมูลกันเป็นทอดๆ โดยผู้ที่ได้รับข้อมูลเหล่านั้นจะต้องมีวิจารณญาณในการตัดสินใจว่าข้อมูลที่ได้รับมีข้อเท็จจริงอย่างไร เช่นเดียวกับปัจจุบันที่มีการแชร์ข้อมูลใน Social network มากมายโดยมีแนวโน้มการแชร์ข้อมูลเท็จมากขึ้น เราจึงอยากให้คนรุ่นใหม่มีวิจารณญาณในการหาข้อมูลที่ถูกต้องก่อนที่จะแชร์ข้อมูลเหล่านั้นออกไป
สร้างสรรค์เฟร่อ Viral video โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
Creative by doing คือ ความคิดที่สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆที่ยังมี หรือคนอื่นคาดไม่ถึงเพื่อพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาในสังคม โดยการลงมือทำเพื่อให้เกิดผลสูงสุด เพราะถ้ามีแค่แนวคิดอย่างเดียวไม่ทำ มันจะไม่เกิดผลอะไร วัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : เพื่อดึงดูด หรือกระตุ้นให้วัยรุ่นตระหนัก และสนใจความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ และลงมือทำ เพื่อที่จะพัฒนาความสามารถนี้ต่อไป เพื่อที่จะเอาไปสร้างสรรค์ พัฒนา และแก้ไขปัญหาในสังคมในอนาคตต่อไป
สร้างสรรค์เฟร่อ โดย คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
Creative by doing คือ ความคิดที่สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆที่ยังมี หรือคนอื่นคาดไม่ถึงเพื่อพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาในสังคม โดยการลงมือทำเพื่อให้เกิดผลสูงสุด เพราะถ้ามีแค่แนวคิดอย่างเดียวไม่ทำ มันจะไม่เกิดผลอะไร วัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : เพื่อดึงดูด หรือกระตุ้นให้วัยรุ่นตระหนัก และสนใจความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ และลงมือทำ เพื่อที่จะพัฒนาความสามารถนี้ต่อไป เพื่อที่จะเอาไปสร้างสรรค์ พัฒนา และแก้ไขปัญหาในสังคมในอนาคตต่อไป