รวม 40 ประสบการณ์จริง 40 เส้นทางสู่การตื่นรู้ - ศุภโชค ชุมสาย ณ อยุธยา
เส้นทางสู่การตื่นรู้ ‘สร้างสรรค์อย่างเป็นธรรมชาติ’ โดย ศุภโชค ชุมสาย ณ อยุธยา ศิลปินอิสระสร้างสรรค์งานศาสนศิลป์ร่วมสมัย อาจารย์พิเศษคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ใช้งานศิลปะฝึกฝน ทบทวนตัวเองและสร้างการตื่นรู้ เพื่อ ‘ยอมรับความจริง’ ในทุกแง่มุมของชีวิต โดยการยอมรับความจริงของชีวิต จะช่วยให้เราดำเนินชีวิตได้อย่างสอดประสานกับความจริง ซึ่งความเข้าใจในระดับที่เกิดการเปลี่ยนแปลงจากภายนี้ใช้ได้ในทุกสถานการณ์ชีวิตและทำให้เราเป็นทุกข์น้อยลง
ชุมชนรับน้ำ จังหวัดอุทัยธานี โดย จิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ชุมชนรับน้ำ (เกาะเทโพ) จังหวัดอุทัยธานี เป็นชุมชนที่ประสบปัญหาน้ำท่วมซ้ำซากทุกปี แต่คนทั่วไปในสังคมกลับไม่รับรู้ถึงปัญหาของชุมชนดังกล่าว กลุ่มจึงต้องการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเพื่อสะท้อนปัญหาดังกล่าวให้คนทั่วไปได้รับรู้ ซึ่งอาจนำไปสู่แนวทางการแก้ไขปัญหาในอนาคตได้
Ignore โดย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปัญหาการเพิกเฉยต่อการค้าประเวณีเป็นปัญหาที่พบได้ทั่วไปในสังคมไทย ไม่เว้นแม้แต่ในสถาบันการศึกษา เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิต และทัศนคติของคนในสังคม ทางกลุ่มจึงต้องการสร้างสรรค์งานศิลปะเพื่อสื่อสารกับชุมชนของบุคลากรในมหาวิทยาลัยศิลปากรเพื่อให้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวและอาจนำไปสู่การแก้ไขปัญหาได้
ลำพยาสร้างสรรค์ทางม้าลาย โดย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
หน้าโรงเรียนบ้านลำพยา จังหวัดนครปฐม เป็นเส้นทางลัดออกไปทางราชบุรี จึงมีรถขับผ่านไปมาด้วยความเร็วอยู่บ่อยครั้ง ทางกลุ่มจึงต้องการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเพื่อบรรเทาหรือแก้ไขปัญหาดังกล่าวนี้
ลำพู รำลึก โดย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
การปรับเปลี่ยนภูมิทัศน์ตามตรอกซอกซอยในชุมชนบางลำพูให้สวยงาม เพื่อให้คนในชุมชนและนักท่องเที่ยวที่ผ่านไปผ่านมาได้ใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
INFLUFAILURE โดย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร
การใช้สื่อ social media อย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์ เกี่ยวกับการเลือกรับสื่อภายใน social media อย่างมีวิจารณญาณของวัยรุ่น(นักเรียน-นักศึกษา) ในการเสพสื่อจากสื่อออนไลน์ในปัจจุบัน INFLUFAILURE คือเป็นผู้นำทางความคิดที่ล้มเหลว
เพจไฟเหลือง โดย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ถอดบทเรียนการทำงานกลุ่ม เชิงสร้างสรรค์ของเยาวชน ต่อ เพจไฟเหลือง สะท้อนความเข้าใจและลดความขัดแย้งด้านความคิดที่เห็นต่าง
แชร์ร้าว โดย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร
Cyber Bully คืออะไร ? การกลั่นแกล้งทางสังคมออนไลน์ บ้างว่าทำเพราะสนิท ทำเพราะสนุก ทำเพราะเพื่อนไม่ว่า เพื่อนคงชินแล้ว หากเราเป็นผู้แชร์อาจไม่รู้สึก แต่ถ้าเราเป็นเหยื่อของการแชร์นี้จะรู้สึกอย่างไร ?
CreativeShield - 3
ผลงานอินโฟกราฟิก โดยนักศึกษาคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยนำเสนอเรื่องของพื้นที่สร้างสรรค์ จากการลงพื้นที่เรียนรู้ที่ชุมชนดวงแข กับมูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก (มพด.) โดยได้สะท้อนแนวคิดออกมาเป็นการทำสื่อ FB ชื่อ CreativeShield ในประเด็น ทำอย่างไรให้มีพื้นที่ให้เด็กได้แสดงออกอย่างสร้างสรรค์ ภายใต้แนวคิด Safe Space โดยสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้าง Safe Space ในความคิดของเด็ก เพื่อให้เด็กมีความมั่นใจในศักยภาพของตนเอง เกิดความเข้มแข็งที่จะปกป้องตนเองจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม โดยอินโฟกราฟิกชิ้นนี้เป็น 1 ในผลงานที่ใช้ในการเผยแพร่
CreativeShield - 2
ผลงานอินโฟกราฟิก โดยนักศึกษาคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยนำเสนอเรื่องของพื้นที่สร้างสรรค์ จากการลงพื้นที่เรียนรู้ที่ชุมชนดวงแข กับมูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก (มพด.) โดยได้สะท้อนแนวคิดออกมาเป็นการทำสื่อ FB ชื่อ CreativeShield ในประเด็น ทำอย่างไรให้มีพื้นที่ให้เด็กได้แสดงออกอย่างสร้างสรรค์ ภายใต้แนวคิด Safe Space โดยสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้าง Safe Space ในความคิดของเด็ก เพื่อให้เด็กมีความมั่นใจในศักยภาพของตนเอง เกิดความเข้มแข็งที่จะปกป้องตนเองจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม โดยอินโฟกราฟิกชิ้นนี้เป็น 1 ในผลงานที่ใช้ในการเผยแพร่
wewillgrowoldtogether ผลงาน สุขภาวะด้านสังคม โดย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ให้ความรู้ความเข้าใจแก่คนรุ่นใหม่ได้เตรียมพร้อมรับมือกับ “สังคมผู้สูงอายุ” ที่กำลังจะมาถึงในเร็ววันนี้