เกล็ดไทยพวนบ้านผือ
บอกเล่าเรื่องราว ความเป็นมาของชมรมไทยพวนอำเภอบ้านผือ จ.อุดรธานี และวิถีวัฒนธรรมผ้าทอไทยไทยพวนบ้านผือจากอดีตถึงปัจจุบัน
สื่อผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทยพวนอำเภอบ้านผือ1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการอุดรธานี
ผลงานเด็กเยาวชนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการอุดรธานี กิจกรรมผลิตและเผยแพร่สื่อออนไลน์ โครงการสื่อศิลป์สามดี ใส่ใจสื่อเดิม สร้างเสริมสื่อดี
ผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทยพวนอำเภอบ้านผือ2 โรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์
สื่อผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทยพวน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ผลงานเด็กเยาวชนโรงเรียนบริบาลภูมิเขตต์ กิจกรรมผลิตและเผยแพร่สื่อออนไลน์ โครงการสื่อศิลป์สามดี ใส่ใจสื่อเดิม สร้างเสริมสื่อดี
สื่อผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทยพวนอำเภอบ้านผือ โรงเรียนหนองหัวคูปวงประชานุเคราะห์
ผลงานเด็กเยาวชนโรงเรียนหนองหัวคูปวงประชานุเคราะห์ กิจกรรมผลิตและเผยแพร่สื่อออนไลน์ โครงการสื่อศิลป์สามดี ใส่ใจสื่อเดิม สร้างเสริมสื่อดี
สื่อผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทยพวน อำเภอบ้านผือ3 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการอุดรธานี
ผลงานเด็กเยาวชนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการอุดรธานี กิจกรรมผลิตและเผยแพร่สื่อออนไลน์ โครงการสื่อศิลป์สามดี ใส่ใจสื่อเดิม สร้างเสริมสื่อดี
สื่อผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทยพวน 2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการอุดรธานี
โครงการสื่อศิลป์สามดี ใส่ใจสื่อเดิม สร้างเสริมสื่อดี
The boxer
"ชีวิตต้องขัง" ไม่ต่างอะไรกับสังเวียน "ชีวิตที่ต้องสู้" โอกาสย่อมเป็นของทุกคนที่ได้รับโอกาส เพียงแต่จะมีสักกี่เปอร์เซ็นต์ในโลกความเป็นจริงที่จะได้สิ่งเหล่านั้น
พิการเศษ โดย ทีมTM Production มหาวิทยาลัยบูรพา
คุณคิดว่าความต้องการของคนพิการ คือ "ความสงสาร" หรือ "ให้มองพวกเขาแบบคนปกติทั่วไป" มาค้นหาคำตอบในวิดีโอนี้กันครับ ผลงานสร้างสรรค์เรื่อง "พิการเศษ" ในประเด็น "กลุ่มอ่อนไหวและเปราะบาง" จาก TM Production มหาวิทยาลัยบูรพา
หนูชื่อ..ยูโร (I am not France) รร.อยุธยานุสรณ์ จ.พระนครศรีอยุธยา
"หนู" เป็นคำเรียกแทนตัวเอง ไม่ว่าชายหรือหญิง และใครที่กำลังคิดว่าคำว่า “หนู”จำกัดเพศการเรียกแทนตัวเอง เราอยากให้คุณได้ติดตามภาพยนตร์สั้นสะท้อนปัญหาความเปราะบางในครอบครัว “ความเหงา ความเศร้า ความสุข” ไปด้วยกัน ผลงานสร้างสรรค์เรื่อง "หนูชื่อ...ยูโร (I am not France)" ในประเด็น "กลุ่มอ่อนไหวและเปราะบาง" จากโรงเรียนอยุธยานุสรณ์ จ. พระนครศรีอยุธยา
อ่อลางมอแกน
“อ่อลางมอแกน” โดยแผนงานสื่อศิลปวัฒนธรรมสร้างเสริมสุข ศสส. เป็นการถอดบทเรียนองค์ความรู้และถ่ายทอดเรื่องราวกระบวนการการใช้สื่อศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นมาบูรณาการเพื่อพัฒนาเยาวชนและชุมชนชาวมอแกนในพื้นที่จังหวัดพังงาและจังหวัดระนอง ในโครงการเด็กอันดามันสร้างสุข (อ่อลางมอแกน) ซึ่งเป็นการร่วมมือกันของปราชญ์พื้นบ้านชาวมอแกน ศิลปิน แกนนำชุมชนมอแกน คณะทำงานเยาวชนมอแกน องค์กรภาครัฐและภาคเอกชน โดยได้นำการละคร สื่อศิลปะพื้นบ้านมาเป็นตัวเชื่อมร้อยมิติสุขภาวะทางสังคมในชุมชน เพื่อให้เกิดพัฒนาการและการสืบสานทางวัฒนธรรมในกลุ่มชาติพันธุ์มอแกน อีกทั้งสร้างสำนึกรักภูมิปัญญาท้องถิ่น อัตลักษณ์และเสริมสร้างกระบวนการคิดวิเคราะห์ให้แก่เหล่าเยาวชนมอแกน