เคล็ดลับเลือกของเล่นชิ้นแรกให้ลูก
เด็กเล็ก ๆ เรียนรู้จากการเล่น ดังนั้น การเลือกของเล่นให้เด็กในช่วงปฐมวัยจึงเป็นเรื่องสำคัญ มาเรียนรู้เทคนิคและวิธีการเลือกของเล่นชิ้นแรกให้ลูกน้อย เพื่อให้ลูกได้ทั้งความสนุก ได้เรียนรู้จากของเล่นอย่างปลอดภัยและมีประโยชน์สูงสุด
4 ขั้นตอนพาลูกเรียนรู้ จากพื้นที่ชุมชน
พื้นที่ชุมชนเป็นอีก 1 พื้นที่ดีและพื้นที่สร้างสรรค์ที่น่าสนใจ ลองพาเด็ก ๆ ไปเรียนรู้จากชุมชน ด้วยเทคนิควิธีการ 4 ข้อนี้ ได้ทั้งความสนุก ความคิดและความรู้ไปพร้อม ๆ กัน
5 คำถามรู้ทันสื่อและโฆษณา
ทุกวันนี้โฆษณาล้อมรอบตัวเราและเด็ก ๆ เพื่อให้เด็กของเรารู้เท่าทัน ไม่ตกเป็นเหยื่อโฆษณา ลองใช้ 5 คำถามนี้หยิบมาพูดคุยถึงเนื้อหาโฆษณาที่ได้พบเจอในชีวิตประจำวัน จะช่วยให้เด็ก ๆ ได้ฝึกคิด เรียนรู้ และไม่ตกเป็นเหยื่อของโฆษณาชวนเชื่อง่าย ๆ
5 ลักษณะบ่งบอกว่าลูกเรากำลังติดเกม
ปัญหาเด็กติดเกมเป็นปัญหาโลกแตกของพ่อแม่ยุคดิจิทัล เด็ก ๆ ใกล้ชิดกับเกมทั้งวันทั้งคืน แล้วอาการแบบไหนบ้างที่เข้าข่ายว่าติดเกม? มารู้จักสัญญาณที่บ่งบอกว่าเด็กกำลังติดเกม เพื่อให้คุณพ่อคุณแม่ได้รู้เท่าทัน และช่วยเหลือเด็ก ๆ ได้ทันท่วงที
3 องค์ประกอบสร้างภูมิคุ้มกันทางใจให้ลูก
ร่างกายยังต้องมีการฉีดวัคซีนเป็นภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง จิตใจก็จำเป็นต้องได้วัคซีนเช่นเดียว มาเรียนรู้ 3 เทคนิคช่วยสร้างภูมิคุ้มกันทางใจให้ลูก ถ้ามีภูมิใจที่แข็งแรง เด็ก ๆ ก็จะเติบโตขึ้นอย่างมั่นใจและมีความสุข
4 ปัจจัยสร้างสุขให้เด็กวัยเรียน
เคยรู้ไหมคะว่าความสุขของเด็ก ๆ วัยเรียนคืออะไรกันแน่? ของเล่นทันสมัย? เพื่อน? หรือครอบครัวที่อบอุ่น? มาเรียนรู้ด้วยกันว่าว่าอะไรคือปัจจัยที่ทำให้เด็กวัยเรียนมีความสุข บางทีความสุขของเด็ก ๆ อาจง่ายกว่าที่ผู้ใหญ่คิดไว้มากมาย
4 กฎทองเมื่อพ่อแม่นั่งดูทีวีกับลูก
อย่าปล่อยให้เด็ก ๆ อยู่หน้าจอเพียงลำพัง หรือให้ทีวีกลายเป็นพี่เลี้ยงของลูกเรา สิ่งที่ดีที่สุดคือคุณพ่อคุณแม่ควรจะนั่งดูทีวีกับลูก คอยอธิบาย ชี้แนะในสิ่งที่เหมาะสมให้กับเด็ก ๆ และนี่คือ 4 กฎทองที่คุณพ่อคุณแม่นำไปปฏิบัติกันได้อย่างง่าย ๆ เมื่อนั่งดูทีวีกับลูกในครอบครัว
ระวังพฤติกรรรมไม่เหมาะสมจากสื่อร้ายในทีวี
รายการโทรทัศน์ที่ดีจะเป็นสื่อช่วยเด็ก ๆ เรียนรู้ แต่รายการโทรทัศน์ที่ไร้คุณภาพ อาจเป็นสื่อที่ทำให้เด็ก ๆ มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ทั้งก้าวร้าว พูดคำหยาบ แสดงความรุนแรง จำเป็นที่คุณพ่อคุณแม่ต้องใส่ใจ คอยตรวจตรา เท่าทันสื่อที่เด็ก ๆ ของเรากำลังดู เพื่อไม่ให้เด็กซึมซับจนนำสู่พฤติกรรมร้าย ๆ ในที่สุด