trực tiếp bóng đá Xoilac
ศูนย์ข้อมูลสื่อสร้างสรรค์
Filter
ประเภทสื่อ
คำค้นหา "ปี" พบ 184 ข้อมูล

CreativeShield - 2

ผลงานอินโฟกราฟิก โดยนักศึกษาคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยนำเสนอเรื่องของพื้นที่สร้างสรรค์ จากการลงพื้นที่เรียนรู้ที่ชุมชนดวงแข กับมูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก (มพด.) โดยได้สะท้อนแนวคิดออกมาเป็นการทำสื่อ FB ชื่อ CreativeShield ในประเด็น ทำอย่างไรให้มีพื้นที่ให้เด็กได้แสดงออกอย่างสร้างสรรค์ ภายใต้แนวคิด Safe Space โดยสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้าง Safe Space ในความคิดของเด็ก เพื่อให้เด็กมีความมั่นใจในศักยภาพของตนเอง เกิดความเข้มแข็งที่จะปกป้องตนเองจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม โดยอินโฟกราฟิกชิ้นนี้เป็น 1 ในผลงานที่ใช้ในการเผยแพร่

โปสเตอร์รณรงค์ชุด ที่ดินของใคร - 3

ผลงานโปสเตอร์รณรงค์ชุด ที่ดินของใคร โดยนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยบูรพา จากการลงพื้นที่เรียนรู้ชุมชนราไวย์ จ.ภูเก็ต ชุมชนทับยาง จ.พังงา ผลงานชุดนี้ประกอบด้วยภาพโปสเตอร์จำนวน 3 ชิ้นสะท้อนประเด็นการจัดสรรที่ดินทำกินที่ไม่เป็นธรรมของประเทศไทย การหลงลืมความต้องการและเสียงที่แท้จริงของคนในชุมชน ความด้อยโอกาสของคนในพื้นที่ที่วันหนึ่งต้องกลายเป็นผู้รุกล้ำพื้นที่ของตนเองอย่างน่าเศร้า 

โปสเตอร์รณรงค์ชุด ที่ดินของใคร - 2

ผลงานโปสเตอร์รณรงค์ชุด ที่ดินของใคร โดยนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยบูรพา จากการลงพื้นที่เรียนรู้ชุมชนราไวย์ จ.ภูเก็ต ชุมชนทับยาง จ.พังงา ผลงานชุดนี้ประกอบด้วยภาพโปสเตอร์จำนวน 3 ชิ้นสะท้อนประเด็นการจัดสรรที่ดินทำกินที่ไม่เป็นธรรมของประเทศไทย การหลงลืมความต้องการและเสียงที่แท้จริงของคนในชุมชน ความด้อยโอกาสของคนในพื้นที่ที่วันหนึ่งต้องกลายเป็นผู้รุกล้ำพื้นที่ของตนเองอย่างน่าเศร้า 

โปสเตอร์รณรงค์ชุด ที่ดินของใคร -1

ผลงานโปสเตอร์รณรงค์ชุด ที่ดินของใคร โดยนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยบูรพา จากการลงพื้นที่เรียนรู้ชุมชนราไวย์ จ.ภูเก็ต ชุมชนทับยาง จ.พังงา ผลงานชุดนี้ประกอบด้วยภาพโปสเตอร์จำนวน 3 ชิ้นสะท้อนประเด็นการจัดสรรที่ดินทำกินที่ไม่เป็นธรรมของประเทศไทย การหลงลืมความต้องการและเสียงที่แท้จริงของคนในชุมชน ความด้อยโอกาสของคนในพื้นที่ที่วันหนึ่งต้องกลายเป็นผู้รุกล้ำพื้นที่ของตนเองอย่างน่าเศร้า 

พินิจ พิศ ณุโลก โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

การออกแบบสื่อเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวแหล่งความรู้ด้านวัฒนธรรมในเขตเมือง และจังหวัดพิษณุโลก แนวคิดเกิดจากการแนะนำแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณค่าในด้านประวัติศาสตร์ แต่ยังไม่เป็นที่รู้จักต่อบุคคลนอกพื้นที่ ( unseen ) โดยมีการจัดเส้นทางการท่องเที่ยวทั้งในเขตตัวเมืองที่มีสถานที่ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมหลบซ่อนอยู่ แม้ทางภาครัฐจะมีการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกหรือสื่อความรู้ต่างๆพอสมควรแล้ว แต่ก็ยังไม่สื่อกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวได้ทราบเท่าที่ควรนัก การท่องเที่ยวในจุด unseen ในเขตเมืองนี้ สามารถที่จะเดินทางด้วยจักรยานหรือการเดินได้ โดยการเดินทางด้วยวิธีการนี้ จะสร้างการจับจ่ายแก่คนในพื้นที่

วิจารณญาณ โดย คณะมีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

สร้างสรรค์สื่อภาพเคลื่อนไหว ในประเด็นเนื้อหาเรื่องของการเสพสื่อและการใช้สื่อบนความหลากหลายของคนในสังคม ไม่ว่าจะเป็นวัยใดเพศใด ทุกคนมีโอกาส และสามารถเป็นผู้รับตัวกลาง และผู้ส่งต่อสื่อได้ทั้งสิ้น “หากทุกคนคือสื่อ แล้วสื่อแบบไหนคือความจริง หากต้องใช้หรือเสพสื่ออย่างมีวิจารณญาณ?” จึงเป็นประเด็นคำถามในการสร้างสรรค์ของกลุ่มของเรา

keyboard_arrow_up

เว็บไซต์นี้มีการใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้และ นโยบายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่.