trực tiếp bóng đá Xoilac
ศูนย์ข้อมูลสื่อสร้างสรรค์
Filter
ประเภทสื่อ
คำค้นหา "ควา" พบ 610 ข้อมูล

VIP เด็กเส้น โดย คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

เสนอการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา ไม่ให้เกิดการใช้เส้นสาย เงิน ยศ เข้ามาช่วยในเรื่องการศึกษา ให้ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน และส่งผลให้เด็กไทยมีประสิทธิภาพมากขึ้น

EXTRA - พิเศษ โดย คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

เพราะการศึกษา มีไว้เพื่อลดการเหลื่อมล้ำ แต่การศึกษา ยังมีความเหลื่อมล้ำเสียเอง... หนังสั้น นำเสนอเกี่ยวกับปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของประเทศไทย โดยเสนอให้ใช้การศึกษาเป็นตัวขับเคลื่อน

มาชิด แทนแชท เพิ่มความชิดใกล้ ให้คนใกล้ชิด คลิปวีดีโอ How to a plastic doll โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง-นฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

" How to be a plastic doll " มีชีวิตแค่โลกในจอ ไร้ชีวิตในโลกความจริง สื่อถึงความไร้ชีวิต ไร้ปฏิสัมพันธ์ทางกายภาพ เหมือนกับหุ่นพลาสติกนิ่งๆที่มีรูปร่างเหมือนคน แต่ไม่สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์ได้ เป็นหุ่นนิ่งที่มีชีวิตแค่กับคนในมือถือ วัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : เพื่อสื่อสารสื่อให้ผู้คนได้ฉุกคิดและหันมาสร้างปฏิสัมพันธ์กับคนรอบๆข้างให้มากขึ้นกว่าเดิม เหตุผลเพราะว่า ถ้าหากในอนาคตการมีปฏิสัมพันธ์ของคนเราลดลง อาจจะมีปัญหาต่างๆในสังคมตามมา เช่น การขาดการมีน้ำใจ ขาดการช่วยเหลือกัน

มาชิด แทนแชท เพิ่มความชิดใกล้ ให้คนใกล้ชิด คลิปวีดีโอ โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง-นฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

" How to be a plastic doll " มีชีวิตแค่โลกในจอ ไร้ชีวิตในโลกความจริง สื่อถึงความไร้ชีวิต ไร้ปฏิสัมพันธ์ทางกายภาพ เหมือนกับหุ่นพลาสติกนิ่งๆที่มีรูปร่างเหมือนคน แต่ไม่สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์ได้ เป็นหุ่นนิ่งที่มีชีวิตแค่กับคนในมือถือ วัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : เพื่อสื่อสารสื่อให้ผู้คนได้ฉุกคิดและหันมาสร้างปฏิสัมพันธ์กับคนรอบๆข้างให้มากขึ้นกว่าเดิม เหตุผลเพราะว่า ถ้าหากในอนาคตการมีปฏิสัมพันธ์ของคนเราลดลง อาจจะมีปัญหาต่างๆในสังคมตามมา เช่น การขาดการมีน้ำใจ ขาดการช่วยเหลือกัน

มาชิด แทนแชท เพิ่มความชิดใกล้ ให้คนใกล้ชิด โดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง-นฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

" How to be a plastic doll " มีชีวิตแค่โลกในจอ ไร้ชีวิตในโลกความจริง สื่อถึงความไร้ชีวิต ไร้ปฏิสัมพันธ์ทางกายภาพ เหมือนกับหุ่นพลาสติกนิ่งๆที่มีรูปร่างเหมือนคน แต่ไม่สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์ได้ เป็นหุ่นนิ่งที่มีชีวิตแค่กับคนในมือถือ วัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา : เพื่อสื่อสารสื่อให้ผู้คนได้ฉุกคิดและหันมาสร้างปฏิสัมพันธ์กับคนรอบๆข้างให้มากขึ้นกว่าเดิม เหตุผลเพราะว่า ถ้าหากในอนาคตการมีปฏิสัมพันธ์ของคนเราลดลง อาจจะมีปัญหาต่างๆในสังคมตามมา เช่น การขาดการมีน้ำใจ ขาดการช่วยเหลือกัน

UNC ปี 3 ความก้าวหน้าจาก Workshop 1

โครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สัง­คมเพื่อประเทศไทยที่น่าอยู่Workshop ครั้งที่ 1 : เรียนรู้โจทย์สังคม-เติมทักษะการสร้างสรรค­์สื่อวันที่ 27-28 กุมภาพันธ์ 2559ณ. โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพมหานคร

UNC ปี 3 ความก้าวหน้าจาก Workshop 2

โครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคมเพื่อประเทศไทยที่น่าอยู่ การประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2 : การออกแบบสื่อและการสื่อสาร...ร่วมสร้างสรรค์ประเทศไทยให้น่าอยู่ วันที่ 27 มีนาคม 2559 ณ อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หนังสือ My Right ความฝัน ขาฉัน ไดอารี่ คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ไดอารี่เล่มนี้ เขียนขึ้นโดยนักศึกษาภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ และภาคนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ต้องการสะท้อนมุมมอง ความรู้สึกนึกคิดของคนพิการกับการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเท่าเทียม เข้าถึงสิทธิ กฎหมาย สวัสดิการ และสิ่งต่างๆ ที่ผู้พิการพึงจะได้รับ แม้เรื่องราวจะเป็นตัวละครสมมติ แต่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เป็นสิ่งที่พบเห็นได้จริงในสังคม ไดอารี่เล่มนี้ จึงเป็นเสียงสะท้อนที่บอกไปยังคนในสังคมได้ตื่นตัวในการเปิดพื้นที่และสิทธิเพื่อดูแลผู้พิการให้ได้รับความเท่าเทียมทางสังคม

My Right ความฝัน ขาฉัน ไดอารี่ คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ผลงานโบรชัวร์ infographic นำเสนอความรู้สึกของคนพิการที่หลังได้รับอุบัติเหตุ ผ่านไดอารี่ เพื่อบอกเล่าความรู้สึกให้คนทั่วไปได้รับรู้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจคนพิการ

สปอตรณรงค์ ที่ดินของใคร - ตอนที่ 2

สปอตรณรงค์ สะท้อนประเด็นความไม่เป็นธรรมในการจัดสรรที่ดินทำกินในประเทศไทย ผลงานโดยนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยบูรพา จากการลงเรียนรู้พื้นที่ชุมชนราไวย์ จ.ภูเก็ต และ ชุมชนทับยาง จ.พังงา สปอตชุดนี้มี 2 ตอน ตอนที่ 2 นี้เป็นการสรุปภาพรวมตัวเลขให้เห็นถึงปัญหาการจัดสรรที่ดินทำกินในประเทศไทย ที่พื้นที่ส่วนใหญ่ถูกจัดสรรอย่างไม่เป็นธรรม ส่งผลให้เกิดตัวเลขความเสียหายทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของคนในประเทศ

สปอตรณรงค์ ที่ดินของใคร - ตอนที่ 1

สปอตรณรงค์ ผลงานโดยนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ได้ลงพื้นที่เรียนรู้ประเด็นความไม่เป็นธรรมในการจัดสรรที่ดินทำกิน ณ ชุมชนราไวย์ จ.ภูเก็ต และ ชุมชนทับยาง จ.พังงา ผลงานสปอตนี้จุดประเด็นกระตุ้นเตือนให้เราได้หันมามองคนในชุมชน คนในพื้นที่ ผู้ไม่อาจเข้าถึงโอกาสในการเป็นเจ้าของที่ดินทำกินและใช้ประโยชน์ของพื้นที่ชุมชนตนเองได้ตามความต้องการอย่างแท้จริง  

keyboard_arrow_up

เว็บไซต์นี้มีการใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้และ นโยบายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่.