WILL SHARE (Wheel Chair) - What is Universal Design โดย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Universal Design อารยสถาปัตย์ เป็นการออกแบบสิ่งแวดล้อมให้ตอบรับกับทุกคน เพราะเป็นการออกแบบ ปรับเปลี่ยน ปรับใช้สิ่งแวดล้อมให้เหมาะแก่การใช้งานของทุกคนไม่เฉพาะผู้พิการ แต่ยังรวมถึงผู้สูงอายุ เด็ก และทุกๆ คน จึงมุ่งให้คนในสังคมเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นของ University Design จึงออกแบบสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสังคม
WILL SHARE (Wheel Chair) ผลงาน Animation - It will be (If we shared) โดย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Universal Design อารยสถาปัตย์ เป็นการออกแบบสิ่งแวดล้อมให้ตอบรับกับทุกคน เพราะเป็นการออกแบบ ปรับเปลี่ยน ปรับใช้สิ่งแวดล้อมให้เหมาะแก่การใช้งานของทุกคนไม่เฉพาะผู้พิการ แต่ยังรวมถึงผู้สูงอายุ เด็ก และทุกๆ คน จึงมุ่งให้คนในสังคมเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นของ University Design จึงออกแบบสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสังคม Animation "IT WILL BE (IF WE SHARED) "สังคมของเราจะเป็นอย่างไร... เมื่อสภาพแวดล้อมพร้อมสำหรับทุกคน
WILL SHARE (Wheel Chair) ละครหุ่นสั้น HAPPY PUFFY SHOW โดย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Universal Design อารยสถาปัตย์ เป็นการออกแบบสิ่งแวดล้อมให้ตอบรับกับทุกคน เพราะเป็นการออกแบบ ปรับเปลี่ยน ปรับใช้สิ่งแวดล้อมให้เหมาะแก่การใช้งานของทุกคนไม่เฉพาะผู้พิการ แต่ยังรวมถึงผู้สูงอายุ เด็ก และทุกๆ คน จึงมุ่งให้คนในสังคมเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นของ University Design จึงออกแบบสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสังคม "THE HAPPY PUFFY SHOW" Puppet Show อารมณ์ดี ที่จะทำให้คุณเห็นถึงประโยชน์ของ Universal Design
WILL SHARE (Wheel Chair) การ์ตูน Everyday is Troubleโดย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Universal Design อารยสถาปัตย์ เป็นการออกแบบสิ่งแวดล้อมให้ตอบรับกับทุกคน เพราะเป็นการออกแบบ ปรับเปลี่ยน ปรับใช้สิ่งแวดล้อมให้เหมาะแก่การใช้งานของทุกคนไม่เฉพาะผู้พิการ แต่ยังรวมถึงผู้สูงอายุ เด็ก และทุกๆ คน จึงมุ่งให้คนในสังคมเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นของ University Design จึงออกแบบสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสังคม การ์ตูนรวบรวมปัญหาอันเกิดจากสภาพแวดล้อมที่เป็นอุปสรรคต่อการใช้ชีวิตประจำวัน อันเนื่องจากการขาด Universal Design ที่สมบูรณ์ในสังคม
WILL SHARE (Wheel Chair) Infographic โดย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Universal Design อารยสถาปัตย์ เป็นการออกแบบสิ่งแวดล้อมให้ตอบรับกับทุกคน เพราะเป็นการออกแบบ ปรับเปลี่ยน ปรับใช้สิ่งแวดล้อมให้เหมาะแก่การใช้งานของทุกคนไม่เฉพาะผู้พิการ แต่ยังรวมถึงผู้สูงอายุ เด็ก และทุกๆ คน จึงมุ่งให้คนในสังคมเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นของ University Design จึงออกแบบสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสังคม Infographic เสนอ "หลัก 7 ประการ" ที่สำคัญของ Universal Design และ Universal Design ตามสถานที่ต่างๆ มีความสำคัญอย่างไรต่อผู้พิการ ?
ฉัน (ไม่) พิการ stop motion ผลงานจาก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-ผังเมือง-นฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
จากแนวคิดที่ว่าสภาพแวดล้อมเป็นตัวกำหนดให้เกิดความพิการขึ้น ไม่ใช่เกิดจากการพิการทางร่างกายเท่านั้น และความพิการเป็นเรื่องใกล้ตัวของทุกคน จึงต้องการให้ความรู้ สร้างเข้าความใจเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือผู้พิการ เป็นการช่วยปรับทัศนคติให้เข้าใจผู้พิการมากขึ้น และให้ภาครัฐให้ความสำคัญกับผู้พิการเทียบเท่าคนปกติ
ฉัน (ไม่) พิการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-ผังเมือง-นฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
จากแนวคิดที่ว่าสภาพแวดล้อมเป็นตัวกำหนดให้เกิดความพิการขึ้น ไม่ใช่เกิดจากการพิการทางร่างกายเท่านั้น และความพิการเป็นเรื่องใกล้ตัวของทุกคน จึงต้องการให้ความรู้ สร้างเข้าความใจเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือผู้พิการ เป็นการช่วยปรับทัศนคติให้เข้าใจผู้พิการมากขึ้น และให้ภาครัฐให้ความสำคัญกับผู้พิการเทียบเท่าคนปกติ
หนังสือ My Right ความฝัน ขาฉัน ไดอารี่ คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ไดอารี่เล่มนี้ เขียนขึ้นโดยนักศึกษาภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ และภาคนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ต้องการสะท้อนมุมมอง ความรู้สึกนึกคิดของคนพิการกับการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเท่าเทียม เข้าถึงสิทธิ กฎหมาย สวัสดิการ และสิ่งต่างๆ ที่ผู้พิการพึงจะได้รับ แม้เรื่องราวจะเป็นตัวละครสมมติ แต่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เป็นสิ่งที่พบเห็นได้จริงในสังคม ไดอารี่เล่มนี้ จึงเป็นเสียงสะท้อนที่บอกไปยังคนในสังคมได้ตื่นตัวในการเปิดพื้นที่และสิทธิเพื่อดูแลผู้พิการให้ได้รับความเท่าเทียมทางสังคม
My Right ความฝัน ขาฉัน ไดอารี่ คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ผลงานโบรชัวร์ infographic นำเสนอความรู้สึกของคนพิการที่หลังได้รับอุบัติเหตุ ผ่านไดอารี่ เพื่อบอกเล่าความรู้สึกให้คนทั่วไปได้รับรู้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจคนพิการ
มหาวิทยาลัยสร้างสรรค์คนรุ่นใหม่ กับการพัฒนาประเทศไทย โดย ศาสตราจารย์ นพ.ประเวศ วะสี
งานเขียนถอดความจากปาฐกถาพิเศษของ ศ.เกียรติคุณ นพ.ประเวศ วะสี จากพิธีเปิดเวทีนำเสนอผลงานนักศึกษา เครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม วันที่ 21 พ.ค. 2558 เนื้อหากล่าวถึงการสร้างสรรค์สังคม คือ การสร้างพลังอํานาจที่ 3 ขึ้นมาในสังคม ที่ต่างจากพลังอํานาจรัฐ พลังอํานาจเงิน ที่สำคัญหากสังคมไทยร่วมมือกันสร้างพลังที่ 3 นี้ขึ้นมาให้เต็มประเทศ ก็จะกลายเป็นกุญแจสำคัญการพัฒนาเด็ก เยาวชน นิสิต นักศึกษาจํานวนมากให้กลายเป็นคนรุ่นใหม่ที่ได้รับการศึกษา เข้าใจประเด็นของประเทศ และใช้เทคโนโลยีไอทีและสื่อสารในทางที่สร้างสรรค์ พร้อมทั้งลุกขึ้นมาเป็นกําลังสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต
คลิปเปิดงานนิทรรศการแสดงผลงานนักศึกษา เครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม ปีที่ 2
ปาฐกถาพิเศษโดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี ในพิธีเปิดงานเวทีนำเสนอผลงานนักศึกษาเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม ในโครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนสร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมที่น่าอยู่ ปีที่ 2 ชี้ให้เห็นความสำคัญของพลังเยาวชนรุ่นใหม่ แม้จะเริ่มต้นด้วยการรวมตัวของเยาวชนกลุ่มเล็ก ๆ แต่เป็นพลังปัญญา พลังทางสังคม พลังจิตสำนึก ร่วมคิดร่วมทำที่จะสังคมสู่ความเจริญได้ในที่สุด
เอิ้นเน้อ Issue 4 : เยี่ยมเยือน บ้านเรือน คนเมือง เชียงใหม่
ในวันที่การท่องเที่ยวเบ่งบาน คนรุ่นใหม่เริ่มย้อนกลับไปสนใจวัฒนธรรมพื้นบ้าน วิถีชีวิตชุมชนแบบดั้งเดิม เอิ้นเน้อ ฉบับที่ 4 จึงขอพาไปเยี่ยมเยือนบ้านเรือน วิถีชีวิตของคนล้านนาแท้ ๆ ที่หยิบเอาคุณค่าในวิถีมาสร้างมูลค่าเพิ่มทางการท่องเที่ยว ผสานความเก่าและความใหม่ให้ลงตัว เป็นการท่องเที่ยวที่น่ารัก ใกล้ชิดชุมชน เรียบง่าย และหยั่งรากถึงคุณค่าความเป็นชุมชนได้อย่างแท้จริง