สำหรับผู้บกพร่องการมองเห็น
สำหรับบุคคลทั่วไป สมัครเพื่อดาวน์โหลดไฟล์สื่อต่างๆ ภายในเว็บไซต์
ค้นหา
อ่านโดย : คุณสุภาวรรณ ต้นทอง หนังสือเสียง "เรียนรู้คุณค่าแห่งชีวิต" หนึ่งในกิจกรรม ภายใต้โครงการ "พื้นที่เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อสุขภาวะทางปัญญา" โดยสถาบันอาศรมศิลป์ สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
อ่านโดย : คุณนิภาพร เอื้อวัณณะโชติมา หนังสือเสียง "เรียนรู้คุณค่าแห่งชีวิต" หนึ่งในกิจกรรม ภายใต้โครงการ "พื้นที่เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อสุขภาวะทางปัญญา" โดยสถาบันอาศรมศิลป์ สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ผู้อ่าน : คุณจณิน วัฒนปฤดา บทนำ ของหนังสือ "เรียนรู้คุณค่าแห่งชีวิต : Lie is Learning Learning is Life" จากการอ่านของอาสาสมัคร โครงการ "พื้นที่เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อนสุขภาวะทางปัญญา" workshop ครั้งที่ 1
อ่านโดย : คุณนิธิศ ทองสอาด หนังสือเสียง "เรียนรู้คุณค่าแห่งชีวิต" หนึ่งในกิจกรรม ภายใต้โครงการ "พื้นที่เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อสุขภาวะทางปัญญา" โดยสถาบันอาศรมศิลป์ สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
n/a
งานประเพณีลอยกระทงสืบสานวัฒนธรรม วัดพระธาตุสุพรรณหงส์ บ้านว่าน ตำบลน้ำคำ จังหวัดศรีสะเกษ กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชน โดยได้รับการสนับสนุนจากหลายภาคส่วนทั้งสภาวัฒนธรรมตำบลน้ำคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ สภาวัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ ชมรมคนรักในหลวงจังหวัดศรีสะเกษ และนักศึกษาที่มาช่วยกันจัดกิจกรรม ภายในงานมีตลาดนัดโบราณและการประกวดนางนพมาศในกลุ่มผู้สูงอายุ นับเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมสนุกในการเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชน
กิจกรรมการสอนทำบะหมี่เกี๊ยวสมุนไพรโรงเรียนบ้านเทิน ตำบลบัวน้อย อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ เป็นหลักสูตรที่ส่งเสริมทักษะในการประกอบอาชีพการขายบะหมี่เกี๊ยวสมุนไพรให้กับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้และทักษะไปต่อยอดทำเป็นอาชีพเลี้ยงตนเองได้ ซึ่งเด็กนักเรียนให้ความสนใจกันเป็นอย่างมากเพราะได้ใช้ทักษะในการปฏิบัติและได้รับความสนุกสนานในการเรียนรู้ ทั้งการปลูกผักด้วยตนเองและเรียนรู้การทำบะหมี่เกี๊ยวเพื่อสุขภาพสูตรภูมิปัญญาท้องถิ่น
ดุริยางค์ความคิด ชุด 150 ปี เมธีปราชญ์ รพินทรนาถ ฐากูร โดยโครงการสื่อสันติภาพ ร่วมกับภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำเสนอรพินทร์รจนาในรูปแบบสื่อเสียงผสานความงามของตัวอักษรเข้ากับเสียงดนตรีในรูปแบบสื่อเสียง ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตอนที่ 2 "ข้าพเจ้ากลายเป็นคนมองโลกในแง่ดีในแบบฉบับของตนเอง...ถ้าเข้าประตูหนึ่งแล้วทำอะไรไม่ได้ ข้าพเจ้าจะเข้าอีกประตูหนึ่ง หรือไม่ก็สร้างประตูเอง สิ่งที่เยี่ยมยอดจะมาเองไม่ว่าปัจจุบันจะมืดมนเพียงใด" โดย รพินทรนาถ ฐากูร 1861-1941
ดุริยางค์ความคิด ชุด 150 ปี เมธีปราชญ์ รพินทรนาถ ฐากูร โดยโครงการสื่อสันติภาพ ร่วมกับภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำเสนอรพินทร์รจนาในรูปแบบสื่อเสียงผสานความงามของตัวอักษรเข้ากับเสียงดนตรีในรูปแบบสื่อเสียง ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตอนที่ 3 "พรมแดนทางภูมิศาสตร์หมดความสำคัญลงไปในโลกสมัยใหม่ ประชาชนในโลกใกล้ชิดกันมากขึ้น เราต้องตะหนักในสิ่งนี้ และเข้าใจว่าความใกล้ชิดต้องมีพื้นฐานมาจากความรัก โลกตะวันออกและตะวันตกต้องร่วมมือกันแสวงหาความจริง" จากเรื่อง ชาตินิยม โดย รพินทรนาถ ฐากูร 1917
ดุริยางค์ความคิด ชุด 150 ปี เมธีปราชญ์ รพินทรนาถ ฐากูร โดยโครงการสื่อสันติภาพ ร่วมกับภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำเสนอรพินทร์รจนาในรูปแบบสื่อเสียงผสานความงามของตัวอักษรเข้ากับเสียงดนตรีในรูปแบบสื่อเสียง ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตอนที่ 4 "ขอให้สิ่งที่ดูเหมือนจะเป็นอุปสรรคกลายเป็นหนทาง และขอให้เรารวมกันเข้า...มิใช่ทำเช่นนั้น ทั้งๆ ที่เรามีความแตกต่างกัน แต่ทำโดยอาศัยความแตกต่างนั้น ขอให้มนุษย์ทุกเชื้อชาติรักษาลักษณะเฉพาะของตน และยังมารวมกัน..มิใช่ในความเหมือนกันที่ตายแล้ว แต่ในความเป็นเอกภาพที่มีชีวิต" จากวาทะ โดย รพินทรนาถ ฐากูร 1924
ดุริยางค์ความคิด ชุด 150 ปี เมธีปราชญ์ รพินทรนาถ ฐากูร โดยโครงการสื่อสันติภาพ ร่วมกับภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำเสนอรพินทร์รจนาในรูปแบบสื่อเสียงผสานความงามของตัวอักษรเข้ากับเสียงดนตรีในรูปแบบสื่อเสียง ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตอนที่ 5 "ข้าพเจ้าเติบโตมาในสภาพแวดล้อมที่ใฝ่ฝันจะขยายจิตวิญญาณของมนุษย์ ในบ้านของเรา เราแสวงหาเสรีภาพในอำนาจที่จะใช้ภาษาของเรา เสรีภาพที่จะจินตนาการในวรรณกรรมของเรา เสรีภาพของจิตวิญาณในความเชื่อทางศาสนา และเสรีภาพของความคิดในสภาพแวดล้อมทางสังคม โอกาสเช่นนั้นทำให้ข้าพเจ้าเชื่อมั่นในอำนาจการศึกษา ซึ่งเป็นหนึ่งเดียวกับชีวิต และเป็นสิ่งเดียวที่จะให้เสรีภาพที่แท้จริงแก่เรา เสรีภาพสูงสุดของมนุษย์ นั่นคือ เสรีภาพของการยึดถือหลักธรรมร่วมกันในโลกมนุษย์" จากเรื่อง อุดมคติของการศึกษา โดย รพินทรนาถ ฐากูร 1929
เว็บไซต์นี้มีการใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้และ นโยบายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่.