สำหรับผู้บกพร่องการมองเห็น
สำหรับบุคคลทั่วไป สมัครเพื่อดาวน์โหลดไฟล์สื่อต่างๆ ภายในเว็บไซต์
ค้นหา
ผลงาน จากโครงการอบรมสร้างสื่อสร้้างสรรค์ ผลิตคลิปสั้นด้วยมือถือ (4 ภูมิภาค)
ผลงานผลิตคลิปสั้น นักข่าวมือถือออนไลน์ ภาคเหนือ จังหวัดน่า
ผลงานผลิตคลิปสั้น นักข่าวมือถือออนไลน์ กลุ่มที่ 1 ประเด็น "ผู้สูงอายุ" ภาคเหนือ จังหวัดน่าน
ผลงานผลิตคลิปสั้น นักข่าวมือถือออนไลน์ กลุ่มที่ 3 ประเด็น "ขยะ" ภาคเหนือ จังหวัดน่าน
ผลงาน กลุ่มอย่าปล่อยให้เด็กอ้วน (ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้) ได้ลงพื่นที่วัดโพธิ์เรียง ซอยจรัญสนิทวงศ์ 18 จากการอบรมการเรียนรู้ทำ Mobile Journalism รู้เท่าทันสื่อและการถ่ายทำ ตัดต่อด้วย Smart Phone สนับสนุนโดย แผนงานสื่อศิลปวัฒนธรรมสร้างเสริมสุขภาพ สสส.
ผลงาน กลุ่มศิลปวัฒนธรรมละครชาตรีได้ลงพื่นที่ชุมชนนางเลิ้ง จากการอบรมการเรียนรู้ทำ Mobile Journalism รู้เท่าทันสื่อและการถ่ายทำ ตัดต่อด้วย Smart Phone สนับสนุนโดย แผนงานสื่อศิลปวัฒนธรรมสร้างเสริมสุขภาพ สสส.
ผลงาน กลุ่มศิลปวัฒนธรรมบ้านบาตร ได้ลงพื่นที่ชุมชนบ้านบาตร จากการอบรมการเรียนรู้ทำ Mobile Journalism รู้เท่าทันสื่อและการถ่ายทำ ตัดต่อด้วย Smart Phone สนับสนุนโดย แผนงานสื่อศิลปวัฒนธรรมสร้างเสริมสุขภาพ สสส.
ผลงาน กลุ่มศิลปวัฒนธรรมอาหาร ได้ลงพื่นที่มัสยิดบ้านตึกดิน ชุมบางลำพู จากการอบรมการเรียนรู้ทำ Mobile Journalism รู้เท่าทันสื่อและการถ่ายทำ ตัดต่อด้วย Smart Phone สนับสนุนโดย แผนงานสื่อศิลปวัฒนธรรมสร้างเสริมสุขภาพ สสส.
ภาพยนตร์สั้นสะท้อนเรื่องราวของสื่อในยุคปัจจุบันที่หลอกลวงผู้ชม เต็มไปด้วยแง่มุมทางธุรกิจ การขายสินค้า มอมเมาคนให้หลงเชื่อด้วยความเชื่อและไสยศาสตร์ เรื่องราวของรายการ วิน เดอะ ทอล์ค ที่พิธีกรร่วมมือกับวิทยากร แสดงตนเป็นหมอดูทำนายอนาคต หลอกให้หลงเชื่อเพื่อขายสินค้าคือสร้อยลูกประคำ ท้ายภาพยนตร์เปิดเผยให้เห็นเบื้องหลังของการแสดง การประกอบสร้างสื่อที่ทำให้คนดูหลงเชื่ออย่างแนบเนียนเป็นกระบวนการ
The Boxer ภาพยนตร์สั้นสร้างจากเค้าโครงเรื่องจริงของ สีนิล สิงห์หนุ่มพัฒนา นักมวยไทยที่มีดีกรีระดับแชมป์ที่ชีวิตพลิกผันดำดิ่งด้วยผลจากยาเสพติด เมื่อต้องอยู่ในเรือนจำ เขาหวนกลับมาจริงจังกับการต่อยมวยอีกครั้ง เพื่อหวังขอให้มีโอกาสขึ้นสังเวียนนอกเรือนจำอีกครั้ง เพื่อขอโอกาสและประกาศให้โลกได้รู้ว่า เขายังมีคุณค่า พร้อมที่จะเป็นนักสู้ กลับมาเป็นคนดีของสังคมอีกครั้งหนึ่ง
"หนู" เป็นคำเรียกแทนตัวเอง ไม่ว่าชายหรือหญิง และใครที่กำลังคิดว่าคำว่า “หนู”จำกัดเพศการเรียกแทนตัวเอง เราอยากให้คุณได้ติดตามภาพยนตร์สั้นสะท้อนปัญหาความเปราะบางในครอบครัว “ความเหงา ความเศร้า ความสุข” ไปด้วยกัน ผลงานสร้างสรรค์เรื่อง "หนูชื่อ...ยูโร (I am not France)" ในประเด็น "กลุ่มอ่อนไหวและเปราะบาง" จากโรงเรียนอยุธยานุสรณ์ จ. พระนครศรีอยุธยา
คุณคิดว่าความต้องการของคนพิการ คือ "ความสงสาร" หรือ "ให้มองพวกเขาแบบคนปกติทั่วไป" มาค้นหาคำตอบในวิดีโอนี้กันครับ ผลงานสร้างสรรค์เรื่อง "พิการเศษ" ในประเด็น "กลุ่มอ่อนไหวและเปราะบาง" จาก TM Production มหาวิทยาลัยบูรพา
กรุณากรอกข้อมูลให้ครบถ้วนเพื่อรับข้อมูลข่าวสาร