สำหรับผู้บกพร่องการมองเห็น
สำหรับบุคคลทั่วไป สมัครเพื่อดาวน์โหลดไฟล์สื่อต่างๆ ภายในเว็บไซต์
ค้นหา
Universal Design อารยสถาปัตย์ เป็นการออกแบบสิ่งแวดล้อมให้ตอบรับกับทุกคน เพราะเป็นการออกแบบ ปรับเปลี่ยน ปรับใช้สิ่งแวดล้อมให้เหมาะแก่การใช้งานของทุกคนไม่เฉพาะผู้พิการ แต่ยังรวมถึงผู้สูงอายุ เด็ก และทุกๆ คน จึงมุ่งให้คนในสังคมเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นของ University Design จึงออกแบบสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสังคม "THE HAPPY PUFFY SHOW" Puppet Show อารมณ์ดี ที่จะทำให้คุณเห็นถึงประโยชน์ของ Universal Design
Universal Design อารยสถาปัตย์ เป็นการออกแบบสิ่งแวดล้อมให้ตอบรับกับทุกคน เพราะเป็นการออกแบบ ปรับเปลี่ยน ปรับใช้สิ่งแวดล้อมให้เหมาะแก่การใช้งานของทุกคนไม่เฉพาะผู้พิการ แต่ยังรวมถึงผู้สูงอายุ เด็ก และทุกๆ คน จึงมุ่งให้คนในสังคมเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นของ University Design จึงออกแบบสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสังคม Animation "IT WILL BE (IF WE SHARED) "สังคมของเราจะเป็นอย่างไร... เมื่อสภาพแวดล้อมพร้อมสำหรับทุกคน
Universal Design อารยสถาปัตย์ เป็นการออกแบบสิ่งแวดล้อมให้ตอบรับกับทุกคน เพราะเป็นการออกแบบ ปรับเปลี่ยน ปรับใช้สิ่งแวดล้อมให้เหมาะแก่การใช้งานของทุกคนไม่เฉพาะผู้พิการ แต่ยังรวมถึงผู้สูงอายุ เด็ก และทุกๆ คน จึงมุ่งให้คนในสังคมเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นของ University Design จึงออกแบบสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสังคม
n/a
โครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคมเพื่อประเทศไทยที่น่าอยู่ การประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2 : การออกแบบสื่อและการสื่อสาร...ร่วมสร้างสรรค์ประเทศไทยให้น่าอยู่ วันที่ 27 มีนาคม 2559 ณ อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคมเพื่อประเทศไทยที่น่าอยู่Workshop ครั้งที่ 1 : เรียนรู้โจทย์สังคม-เติมทักษะการสร้างสรรค์สื่อวันที่ 27-28 กุมภาพันธ์ 2559ณ. โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพมหานคร
เพื่อให้คนที่ดูVDOตัวนี้ ตั้งคำถามกับตัวเองเรื่องน้ำ และหาข้อมูลข้อเท็จจริง เพื่อที่จะได้ใช้ชีวิตอยู่กับน้ำได้อย่างราบรื่น เพราะชาวนาจะพึ่งข่าวรัฐบาลไม่ได้ ต้องหาข้อมูลเพื่อรองรับภัยแล้งด้วย ชาวเกษตรกร หรือชาวเมืองเหมือนกัน คือตั้งคำถามและหาคำตอบให้กับตัวเอง
โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนสร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมที่น่าอยู่ ผลงาน คัดผัก(KUDPAK) ตอน ตื่นตรา ม.ศิลปากร Concept : ผักเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพแต่ต้องเป็นผักที่ปราศจากสารเคมี หรือมีระดับสารเคมีที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แม้ว่าปัจจุบันจะมีหน่วยงาน องค์กรต่างๆ ออก “ตรารับรอง” ให้กับผัก ผลไม้ปลอดสารเคมี เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค แต่คนส่วนใหญ่กลับไม่ค่อยมีความรู้เกี่ยวกับตรารับรองมาตรฐานเหล่านี้ “ตื่นตรา-ปลุกผัก” เป็นสื่อที่ต้องการให้ข้อมูลเกี่ยวกับตรารับต่างต่างๆ ในรูปแบบสื่อที่เข้าใจง่าย สั้น ตรงประเด็น เพื่อให้ประชาชนที่ใส่ใจสุขภาพ หันมา รับประทานผักให้มากขึ้น และสามารถเลือกผักที่ปราศจากสารเคมี หรือมีสารเคมีอยู่ในระดับที่ปลอดภัยมาบริโภคได้อย่างมั่นใจด้วยการดูจากตรารับรอง
โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนสร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมที่น่าอยู่ ผลงาน คัดผัก(KUDPAK) ตอน ปลุกผัก ม.ศิลปากร Concept : ผักเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพแต่ต้องเป็นผักที่ปราศจากสารเคมี หรือมีระดับสารเคมีที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แม้ว่าปัจจุบันจะมีหน่วยงาน องค์กรต่างๆ ออก “ตรารับรอง” ให้กับผัก ผลไม้ปลอดสารเคมี เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค แต่คนส่วนใหญ่กลับไม่ค่อยมีความรู้เกี่ยวกับตรารับรองมาตรฐานเหล่านี้ “ตื่นตรา-ปลุกผัก” เป็นสื่อที่ต้องการให้ข้อมูลเกี่ยวกับตรารับต่างต่างๆ ในรูปแบบสื่อที่เข้าใจง่าย สั้น ตรงประเด็น เพื่อให้ประชาชนที่ใส่ใจสุขภาพ หันมา รับประทานผักให้มากขึ้น และสามารถเลือกผักที่ปราศจากสารเคมี หรือมีสารเคมีอยู่ในระดับที่ปลอดภัยมาบริโภคได้อย่างมั่นใจด้วยการดูจากตรารับรอง
โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนสร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมที่น่าอยู่ Concept : “ข้าว” เป็นอาหารหลักของคนไทย แต่เราจะรู้ได้อย่างไรว่าข้าวที่เราบริโภคนั้นปลอดภัย “มอดในข้าว” ที่มักถูกผู้คนรังเกียจจะให้คำตอบกับเราได้ นิทรรศการหัวข้อเรื่อง “ข้าวคร่าว” จะนำผลการทดลองมาจัดแสดง เพื่อให้ผู้ชมรู้ว่ามอดมาจากไหน มีอันตรายหรือไม่ และมอดมีความเชื่อมโยงอย่างไรกับข้าวอินทรีย์ หรือข้าวเจือปนสารเคมี ซึ่งจะทำให้ผู้ชมรับรู้ เข้าใจและตระหนักถึงที่มาของข้าวที่รับประทานอยู่ทุกวัน เห็นคุณค่าของวิถีการเกษตรแบบดั้งเดิม รวมถึงส่งต่อความสนใจและตั้งคำถามต่อข้อมูลที่ได้รับไปค้นคว้าต่อไป
โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนสร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมที่น่าอยู่ Concept : การใช้ “สารเคมี” ภาคเกษตรกรรมของไทยมีอัตราสูงขึ้นเรื่อยๆ แม้ผู้บริโภคในปัจจุบันพยายามจะหลีกเลี่ยงการบริโภคผักปนเปื้อนสารเคมี แต่ก็ใช้ว่าจะรอดพ้น เมื่อผู้บริโภคมี “เคล็ดลับ” ในการเลือก เกษตรกรผู้ปลูกผัก รวมทั้งแม่ค้า ก็มีกลยุทธ์ในการ “สร้างภาพ” อำพรางความจริงได้อย่างแนบเนียนเช่นกัน นักศึกษาจึงเลือกผลิตสื่อเพื่อนำเสนอสภาพปัญหาจากสถานการณ์จริง พร้อมทั้งนำเสนอ “ทางเลือก” ให้กับผู้บริโภค โดยชี้ให้เห็นว่า การแก้ปัญหาการใช้สารเคมีในภาคเกษตรจะเปลี่ยนก็ต่อผู้บริโภคเปลี่ยนพฤติกรรม และเมื่อหนึ่งคนเปลี่ยน หลายคนเปลี่ยน ในที่สุดสังคมก็จะเปลี่ยน
เด็กทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้ ไม่เว้นแม้กระทั่งเด็กพิการทางสมอง หรือ C.P. ไปดูวิธีทำอุปกรณ์ฝึกทักษะเพื่อเด็กพิการทางสมองแบบง่าย ๆ ด้วยฝีมือของผู้ออกแบบ 'ธนวัติ มณีนาวา' สนับสนุนโดย 'มูลนิธิเพื่อเด็กพิการ' ไม่ว่าจะเป็นการทำอุปกรณ์เกี่ยวกับการการดูแลสุขลักษณะ เครื่องมือในการใช้ชีวิตประจำวัน จะช่วยสร้างเสริมและกระตุ้นการช่วยเหลือตนเองให้กับเด็กเหล่านี้ได้
กรุณากรอกข้อมูลให้ครบถ้วนเพื่อรับข้อมูลข่าวสาร